ที่ประชุมคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (กก.วล.) ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 26 ต.ค. 2566 ที่มี พล.ต.อ.พัชรวาท วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และรมว.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานได้เห็นชอบมาตรการแก้ไขปัญหาฝุ่น PM2.5 ในปีงบประมาณ 2567 ประกอบด้วย การขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” และ “มาตรการแก้ไขปัญหาฝุ่น …
มลพิษอากาศ
เมื่อวันที่ 29 ส.ค. 2566 ศาลปกครองมีคำพิพากษาให้กระทรวงอุตสาหกรรมเร่งจัดทำทำเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Register) หรือเรียกว่า PRTR ภายใน 60 วันนับแต่คดีถึงที่สุด
ไฟป่าแคนาดาเลวร้ายทุบสถิติ ผลาญพื้นที่ 1.4 แสนตาราง กม.
สถานการณ์ไฟป่าในแคนาดาเลวร้ายที่สุดเป็นประวัติการณ์และได้ทำลายสถิติสูงสุดของประเทศ ล่าสุดได้เผาผลาญพื้นที่ในประเทศไปแล้วราว 1.4 แสนตารางกิโลเมตร หรือมีขนาดเทียบเท่ากับรัฐนิวยอร์กของสหรัฐ นอกจากมีประชาชนต้องอพยพกว่าแสนคนแล้ว ฝุ่นควันที่พัดปกคลุมไปทั่วประเทศทำให้มีการปล่อยคาร์บอนเข้าสู่ชั้นบรรยากาศมากถึง 160 ล้านตัน
สตาร์ทอัปอเมริกาพัฒนากล้อง AI ตรวจจับไฟป่าได้ไกลถึง 24 กม. และสามารถวิเคราะห์รู้เชิงลึกถึงรุนแรง ตำแหน่ง รวมถึงความเร็วและทิศทางของการลุกลาม
รายงานระบุเครื่องฟอกอากาศที่ใช้แผ่นกรอง HEPA สามารถปรับคุณภาพอากาศในที่ร่มให้ดีขึ้นได้ 30-74% ในช่วงที่ควันไฟป่าปกคลุมหลายพื้นที่ของออสเตรเลีย
การนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร หรือชีวมวลที่เป็นสาเหตุหนึ่งของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือฝุ่น PM2.5 มาแปลงเป็นเชื้อเพลิงเพื่อสร้างพลังงานจะเป็นทางออกหนึ่งในการแก้ปัญหามลพิษอากาศซึ่งเกิดขึ้นในทุกปี การผลิตพลังงานจากชีวมวล ผ่านเครื่องยนต์เก่าเหลือทิ้งมาพัฒนาเป็นเครื่องต้นกำลัง นับเป็นการสร้างนวัตกรรมสำหรับการแก้ปัญหา “วิกฤตฝุ่นควัน” เพื่อช่วยกันสร้างอากาศที่ดีสำหรับทุกคน
ไฟป่าขนาดใหญ่ที่ลุกลามไปทั่วเกาะโรดส์ของประเทศกรีซ ทำให้ประชากรและนักท่องเที่ยวหลายหมื่นคนต้องอพยพออกจากเกาะ นับเป็นการอพยพครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศ
ที่ประชุมสภากรุงเทพมหานคร (กทม.) สมัยประชุมสามัญ สมัยที่ 1 ประจำปี 2566 เมื่อวันที่ 5 ก.ค. 2566 มีมติมติรับหลักการวาระ 1 ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องกำหนดลักษณะของอาคารและพื้นที่ว่างนอกอาคารเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือ ร่างข้อบัญญัติพื้นที่สีเขียว
องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) ได้รวบรวมเหตุการณ์ความเสียหายต่างๆ ที่เกิดจากสภาพอากาศสุดขั้ว โดยพบว่าในระเวลา 50 ปี เกิดภัยพิบัติกว่า 12,000 เหตุการณ์ ซึ่งคร่าชีวิตผู้คนไปแล้วกว่า 2 ล้านคน และสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจถึง 4.3 ล้านล้านดอลลาร์
การศึกษาใหม่เผยมลพิษอากาศเสี่ยงหัวใจเต้นผิดจังหวะเฉียบพลัน หลัง 2-3 ชั่วโมงแรกของการสัมผัส จากนั้นความเสี่ยงจะลดลงภายใน 24 ชั่วโมง