กรมโลกร้อนผนึกกำลังภาคเอกชน ดีเดย์ 3 ก.ค. “วันปลอดถุงพลาสติกสากล” ยกระดับการดำเนินงานสู่เป้าหมาย Net Zero
พลาสติก
ปูเสฉวน 2 ใน 3 สายพันธุ์ทั่วโลกกำลังนำขยะพลาสติกมาใช้เป็น ‘บ้าน’ หรือเกราะห่อหุ้มร่างกาย การศึกษานิเวศวิทยาทางอินเทอร์เน็ต (iEcology) นักวิจัยพบว่า 85% ของ ภาพปูเสฉวน 386 ภาพที่เผยแพร่สาธารณะผ่านโซเชียลมีเดีย ใช้ขยะพลาสติกเป็นเกราะหุ้มร่างกาย โดยขยะที่พบส่วนมากเป็นฝาขวดพลาสติก
แม้ว่าการรีไซเคิลพลาสติกได้รับการขนานนามว่าเป็นวิธีแก้ปัญหาวิกฤตมลพิษจากพลาสติก แต่การศึกษาล่าสุดระบุว่าถึงเวลาที่ต้องทบทวนกันใหม่ หลังศึกษาพบสารเคมีอันตรายหลายร้อยชนิดในเม็ดพลาสติกรีไซเคิลจากประเทศต่างๆ มากกว่า 10 ประเทศ
นักวิทยาศาสตร์ประเมินว่ามีไมโครพลาสติกประมาณ 14 ล้านตันบนพื้นมหาสมุทร และอีก 24 ล้านชิ้นที่ลอยอยู่บนพื้นผิวมหาสมุทร ไมโครพลาสติกมาจากหลายแห่ง แต่คาดว่า 35% ของมลพิษไมโครพลาสติกในมหาสมุทรนั้นมาจากกระบวนการซักผ้า
นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบวิธีการคืนชีวิตใหม่ให้กับพลาสติกเก่าโดยการเปลี่ยนให้เป็นสบู่ พลาสติกมีคุณสมบัติทางเคมีคล้ายกับกรดไขมันซึ่งเป็นหนึ่งในส่วนผสมหลักในสบู่ ความคล้ายคลึงนี้ชี้ให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่จะเปลี่ยนโพลีเอทิลีนเป็นกรดไขมัน แล้วขึ้นรูปเป็นสบู่
การใส่คอนแทคเลนส์เป็นเวลา 10 ชั่วโมงต่อวัน อาจทำให้มีไมโครพลาสติก ‘ไหล’ เข้าตาได้ ทีมวิจัยจึงเรียกร้องให้มีการศึกษาเพิ่มถึงผลกระทบต่อสุขภาพ
นักวิจัยพบโรงงานรีไซเคิลแห่งหนึ่งในสหราชอาณาจักรปล่อยไมโครพลาสติกมากับน้ำเสียมากถึง 1,184 ตันต่อปี โดยประเมินได้ว่าน้ำเสีย 1 ลูกบาศก์เมตรจากโรงงานแห่งนี้มีไมโครพลาสติกเจือปนสูงถึง 75 พันล้านชิ้น อนุภาคพลาสติดส่วนใหญ่มีขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน โดยมากกว่า 80% มีขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน
วิจัยเผย ‘นาโนพลาสติก’ อนุภาคขนาดจิ๋วจากไนลอนที่พบได้ในเสื้อผ้าสามารถแทรกซึมเข้าร่างกายมนุษย์เพียงสูดลมหายใจ เสี่ยงกระทบภาวะสืบพันธุ์