วันนี้ (7 มี.ค. 2566) ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานครรายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ของสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานคร ช่วงเวลา 05.00-07.00 น. ตรวจวัดได้ 58-93 มคก./ลบ.ม. ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพมหานคร 72.6 มคก./ลบ.ม. และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและอยู่ในระดับกระทบต่อสุขภาพ จำนวน 69 …
pm2.5
อุปสรรคแก้ฝุ่นพิษกรุงเทพฯ-ปริมณฑล
นโยบายไม่ต่อเนื่องติดปัญหาเชิงโครงสร้าง
นโยบายการแก้ปัญหามลพิษอากาศในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ทั้งภาครัฐและเอกชนอาจดูมีมุมมองที่แตกต่าง ทำให้เห็นได้ว่าทิศทางการแก้ปัญหายังไม่สอดคล้องกัน แม้จะมีกฎหมายมากพอในการใช้บังคับ มีองค์ความรู้ทางวิชาการที่หลากหลาย แต่ในสภาพความเป็นจริงสถานการณ์ฝุ่น PM2.5 ในเมืองหลวงและจังหวัดโดยรอบยังอยู่ในระดับที่มีอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน
ผลการวิจัยฝุ่นตอกย้ำ PM2.5
เสี่ยงโรคพุ่มพวง-รูมาตอยด์
ไทยติดกลุ่มตายก่อนวัยอันควร
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเวโรนา ประเทศอิตาลีทำการศึกษาวิเคราะห์การได้รับฝุ่นละอองขนาดเล็ก คือฝุ่น PM10 และ PM2.5 ซึ่งผลิตโดยแหล่งต่าง ๆ เช่น รถยนต์และโรงไฟฟ้าโดยเฉลี่ยในระยะยาวระดับความเข้มข้นของฝุ่น PM10 ถ้าสูงถึง 30 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.) และ PM2.5 สูงถึง 20 มคก./ลบ.ม. โดยทั่วไปถือว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์
สถานการณ์คุณภาพอากาศปี 64
ภาพรวมแนวโน้มดีขึ้นกว่าปีก่อน
นครศรีฯ ดีที่สุด ลำปางติดยอดแย่
นายอรรถพล เจริญชันษา อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เปิดเผยว่า สถานการณ์คุณภาพอากาศ ปี 2564 ภาพรวมคุณภาพอากาศดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา ปริมาณฝุ่นละออง PM2.5 มีค่าเฉลี่ยรายปีทั่วประเทศ 21 มคก./ลบ.ม. (ลดลงจากปี 2563 ร้อยละ 9) ฝุ่นละออง PM10 มีค่าเฉลี่ยรายปีทั่วประเทศ …