เมื่อ “ฝุ่น PM2.5” ในเมืองกรุง พุ่งไม่หยุด “หอฟอกอากาศระดับเมือง” ฟ้าใส อีกหนึ่งเทคโนโลยี อีกหนึ่งความหวัง แก้มลพิษทางอากาศ คืนชีวิตให้คนกรุง สู้ฝุ่น PM2.5 ได้อย่างยั่งยืน จากข้อมูลเรื่องฝุ่น pm2.5 ที่สร้างความน่าตระหนกตกใจ โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในรอบ 1 ปี มีปริมาณสูงเกินกว่าค่าแนะนำขององค์การอนามัยโลก …
pm2.5
ถอดบทเรียน “วันสิ่งแวดล้อมไทย” กับ 3 สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม ขยะพลาสติก จำนวนป่าไม้ มลพิษอากาศ ไปถึงไหนแล้ว ขณะที่ ค่าฝุ่นยังพุ่ง ขยะพลาสติกล้นทะลัก ผืนป่าลดลงมากสุดในรอบ 10 ปี จากสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย และของโลก ที่มีความรุนแรงขึ้น ทำให้เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2532 …
ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียนกำลังตกเป็นเป้าการโจมตีของคลื่นความร้อนอย่างรุนแรง บางพื้นที่กำลังสำลักมลพิษอากาศจากฝุ่น PM2.5 อยู่แล้ว ทำให้สถานการณ์ที่เลวร้ายอยู่เดิมยิ่งมีอันตรายมากขึ้นถึงชีวิต
สถานการณ์ไฟป่าและฝุ่น PM2.5 ในหลายจังหวัดภาคเหนือตอนบนรุนแรงจนทำให้ประชาชนตกอยู่ภาวะอันตราย โดยเฉพาะเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2567 เว็บไซต์ iqair.com รายงานคุณภาพอากาศและจัดอันดับเมืองที่มีมลพิษทั่วโลกว่า จ.เชียงใหม่ เป็นเมืองติดอันดับที่ 1 ของโลก ค่าฝุ่นแตะระดับ 240 AQI US ซึ่งคุณภาพอากาศแย่มากที่สุดและมีผลกระทบอย่างรุนแรง เชียงใหม่จึงกลายเป็นเมืองที่ติดอันดับ 1 …
การพัฒนาเครื่องต้นกำลังพลังชีวมวล คือการนำเครื่องยนต์ดีเซลเก่ามาดัดแปลงเป็นเครื่องต้นกำลังพลังชีวมวล เพื่อขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายการลดฝุ่น PM2.5 และ ลดแหล่งกำเนิดฝุ่นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
เมื่อวันที่ 29 ส.ค. 2566 ศาลปกครองมีคำพิพากษาให้กระทรวงอุตสาหกรรมเร่งจัดทำทำเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Register) หรือเรียกว่า PRTR ภายใน 60 วันนับแต่คดีถึงที่สุด
สตาร์ทอัปอเมริกาพัฒนากล้อง AI ตรวจจับไฟป่าได้ไกลถึง 24 กม. และสามารถวิเคราะห์รู้เชิงลึกถึงรุนแรง ตำแหน่ง รวมถึงความเร็วและทิศทางของการลุกลาม
ศาลปกครองเชียงใหม่ชี้นายกรัฐมนตรีและคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ละเลยหน้าที่แก้ปัญหา PM 2.5 หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร
วันนี้ (27 มี.ค. 2566) เวลา 07.00 น ศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศรายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ ภาพรวมปริมาณ PM 2.5 ในประเทศเฉลี่ยในช่วง 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา พบหลายจังหวัดในภาคเหนือยังวิกฤต โดยค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 37-537 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.) อยู่ในเกณฑ์กระทบต่อสุขภาพ
การศึกษาใหม่พบว่ามีเพียง 0.18% ของพื้นที่โลกและ 0.001% ของประชากรโลกเท่านั้นที่สัมผัสระดับ PM2.5 ต่ำกว่า 15 มคก./ลบ.ม. ตามเกณฑ์แนะนำคุณภาพอากาศ PM2.5 ใหม่ที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ