เหตุการณ์น้ำท่วมเชียงราย และอีกหลายจังหวัดรุนแรงกว่าปี 2554 กรุงเทพฯ เสี่ยงสูงหากพายุซ้ำอีกลูก เตรียมตัวหนึ่งต้น ต.ค.น้ำทะเลหนุนสูงมากกว่านี้
igreenstory
30 ปี กรุงเทพจมทะเล ไม่อยู่บนแผนที่โลก ไม่ย้ายเมืองหลวงจะรอดไหม?
นักวิทยาศาสตร์ตอกย้ำหลายครั้งว่าวิกฤตโลกร้อนจะทำให้ประเทศหมู่เกาะและเมืองชายฝั่งเสี่ยงจมทะเล แต่ดูเหมือนประเทศไทยจะยังไม่ตื่นตัวรับมือมากพอ เมืองหลวงของหลายประเทศในอาเซียนมีโอกาสสูงมากที่จะจมทะเล ด้วยภาวะโลกร้อนเข้าสู่วิกฤตหนักหน่วงมากยิ่งขึ้น โดยไม่มีทีท่าจะหยุดยั้งกิจกรรมการพัฒนาของมนุษย์ในทุกมิติลงได้ ก๊าซเรือนกระจกจึงถูกปล่อยในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ มหาสมุทรซึ่งมีศักยภาพในการดูดซับความร้อนและคาร์บอนไดออกไซด์ไปกักเก็บใต้ทะเลก็ไม่อาจรับไหว น้ำทะเลอุ่นจึงมากขึ้น ซึ่งแน่นอนอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นได้เร่งอัตราการละลายธารน้ำแข็งขั้วโลก ระดับน้ำทะเลก็ยิ่งเพิ่มสูงขึ้นในทุกปี ข้อมูลรายงานฉบับหนึ่งที่ชื่อ State of Climate in the South-West Pacific 2023 ขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) …
สึนามิที่เกิดบนเกาะกรีนแลนด์เมื่อปีที่แล้วมาจากยอดเขาขนาดมหึมาถล่ม ทำให้ฟยอร์ดถูกคลื่นกระแทก ระดับน้ำสูง 200 เมตร สาเหตุมาภาวะโลกร้อน
พายุดีเปรสชั่นแรงทำให้มีฝนตกหนักถึงหนักมาก โดยเฉพาะภาคอีสานตอยบน ส่งผลมาถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล ช่วง 20-23 ก.ย.นี้
เมืองทั่วโลกเร่งปรับตัว รับมือคลื่นความร้อนดันอุณหภูมิเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้น
เมืองต่างๆ ทั่วโลกเร่งปรับตัวจากคลื่นความร้อนจะที่ทำให้อุณหภูมิเฉลี่ยเพิ่มสูงถึง 35 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและอื่น เมืองต่างๆ ทั่วโลกกำลังเผชิญกับความร้อนที่สูงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทำให้หลายแห่งต้องหาวิธีแก้ไขและปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจากคลื่นความร้อนและอุณหภูมิที่สูงขึ้นอย่างรุนแรง หลายเมืองได้พยายามเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อช่วยลดอุณหภูมิ เช่น การปลูกต้นไม้ สร้างสวนสาธารณะ หรือการจัดสวนบนหลังคา (green roofs) ให้ช่วยดูดซับความร้อนและสร้างร่มเงา ตัวอย่างเช่น เมืองมิลานในอิตาลีได้เริ่มโครงการ “Bosco Verticale” หรือ …
โลกป่วนภูมิอากาศเปลี่ยน คุมอุณหภูมิไม่อยู่ Flexitarian ช่วยกอบกู้โลก
การหยุดปล่อยคาร์บอนเป็นเรื่องเป็นไปไม่ได้ การคุมอุณหภูมิที่ 1.5 องศา ก็ยากมาก ทางรอดเดียวต้องเร่งปฏิรูประบบอาหาร และกินเนื้อสัตว์ให้น้อยลง
การปฏิรูประบบอาหารมาแน่และใหญ่แน่ เพราะก๊าซคาร์บอนที่ถูกปล่อยเมื่อศตวรรษที่แล้วยังถึงวันนี้ ก๊าซคาร์บอนที่ปล่อยในวันนี้ก็จะอยู่ไปถึงศตวรรษหน้า
อิทธิพลไต้ฝุ่น’ยางิ’ 8 – 13 ก.ย. ฝนตกเพิ่มทุกภาค เสี่ยงน้ำท่วมทั่วไทย
ช่วง 9 – 10 ก.ย. มีน้ำไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มในอัตรา 1,500 – 2,000 ลบ.ม.ต่อวินาที พื้นที่น้ำท่วม 116.21 ตาราง กม.ใน จ.ปทุมธานี และนนทบุรี
การนำผลผลิตส่วนเกินในภาคเกษตร 654 ล้านกิโลกรัม ไปช่วยผู้หิวโหยใน 45 ประเทศ กว่า 40 ล้านคนทั่วโลก ช่วยลดการปล่อยคาร์บอนได้ 1.8 ล้านเมตริกตัน
น้ำท่วมใหญ่ในบังกลาเทศทำให้มีผู้เสียชีวิตแล้ว 71 คน มีประชาชนตกค้างอยู่ในพื้นที่ 5 ล้านคน นับเป็นอุทกภัยที่เลวร้ายที่สุดในรอบเกือบ 40 ปี