‘ฤดูร้อนโลก’ เดินหน้าทุบสถิติ ระอุสุดตั้งแต่เคยบันทึกมา
ฤดูร้อนโลกปีนี้อุ่นที่สุดนับตั้งแต่เริ่มมีการบันทึกมา โดยอุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคมที่ผ่านมาอยู่ที่ 16.77 องศาเซลเซียส
ฤดูร้อนโลกปีนี้อุ่นที่สุดนับตั้งแต่เริ่มมีการบันทึกมา โดยอุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคมที่ผ่านมาอยู่ที่ 16.77 องศาเซลเซียส
โปรตุเกสกลายเป็นประเทศล่าสุดที่ประกาศทดลองการทำงานสัปดาห์ละ 4 วัน หลังจากก่อนหน้านั้น เบลเยียม สหราชอาณาจักร และประเทศอื่นๆ ได้นำร่องไปแล้ว โดยรวมถือเป็นเทรนด์ที่ได้รับการตอบรับที่ดีต่อการสร้างสมดุลการใช้ชีวิตโดยยังคงประสิทธิภาพการทำงานที่ดีเหมือนเดิม และสามารถกอบกู้โลกจากภาวะโลกร้อนได้อีกด้วย
ล่าสุดสถานการณ์น้ำในเขื่อนลำตะคองเริ่มวิกฤต เนื่องจากฝนทิ้งช่วงเป็นระยะยาว มีฝนตกลงมาในพื้นที่เหนือเขื่อนลำตะคองปริมาณน้อย ต้นน้ำที่อยู่บนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ต.หมูสี อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ไม่มีน้ำไหลลงเขื่อน รวมทั้งลำคลองลำธารสาขาต่างๆ ที่ไหลลงเขื่อนแห้งขอดหมดทุกพื้นที่ทั้ง 12 ตำบล
สถานการณ์ไฟป่าในแคนาดาเลวร้ายที่สุดเป็นประวัติการณ์และได้ทำลายสถิติสูงสุดของประเทศ ล่าสุดได้เผาผลาญพื้นที่ในประเทศไปแล้วราว 1.4 แสนตารางกิโลเมตร หรือมีขนาดเทียบเท่ากับรัฐนิวยอร์กของสหรัฐ นอกจากมีประชาชนต้องอพยพกว่าแสนคนแล้ว ฝุ่นควันที่พัดปกคลุมไปทั่วประเทศทำให้มีการปล่อยคาร์บอนเข้าสู่ชั้นบรรยากาศมากถึง 160 ล้านตัน
สตาร์ทอัปอเมริกาพัฒนากล้อง AI ตรวจจับไฟป่าได้ไกลถึง 24 กม. และสามารถวิเคราะห์รู้เชิงลึกถึงรุนแรง ตำแหน่ง รวมถึงความเร็วและทิศทางของการลุกลาม
รายงานระบุเครื่องฟอกอากาศที่ใช้แผ่นกรอง HEPA สามารถปรับคุณภาพอากาศในที่ร่มให้ดีขึ้นได้ 30-74% ในช่วงที่ควันไฟป่าปกคลุมหลายพื้นที่ของออสเตรเลีย
ไฟป่าขนาดใหญ่ที่ลุกลามไปทั่วเกาะโรดส์ของประเทศกรีซ ทำให้ประชากรและนักท่องเที่ยวหลายหมื่นคนต้องอพยพออกจากเกาะ นับเป็นการอพยพครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศ
คลื่นความร้อนแตะจุดสูงสุดที่ 53 องศาเซลเซียส ในทะเลทรายแคลิฟอร์เนียทางตะวันตกของสหรัฐ ขณะที่น้ำท่วมฉับพลันยังคงคุกคามภาคตะวันออกเฉียงเหนือทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 5 ราย
ภารกิจกู้ภัยของเกาหลีใต้กำลังดำเนินช่วยเหลือผู้ประสบภัย หลังเกิดเหตุจากน้ำท่วมฉับพลันและดินถล่มในวันศุกร์ที่ผ่านมา รายงานล่าสุดมีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 39 ราย
ธารน้ำแข็งในเทือกเขาหิมาลัยฮินดูกูชกำลังละลายอย่างรวดเร็ว และอาจมากถึง 80% ภายในปี 2100 นักวิทยาศาสตร์เตือนถึงอันตรายจากน้ำท่วมฉับพลันและการขาดแคลนน้ำจืดสำหรับประชากรเกือบ 2 พันล้านคนที่อาศัยอยู่ตามลำน้ำของแม่น้ำที่มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัยฮินดูกูช