กรมโลกร้อนผนึกเอกชน ดีเดย์’วันปลอดถุงพลาสติกสากล’ เร่งสู่ Net Zero
กรมโลกร้อนผนึกกำลังภาคเอกชน ดีเดย์ 3 ก.ค. “วันปลอดถุงพลาสติกสากล” ยกระดับการดำเนินงานสู่เป้าหมาย Net Zero
กรมโลกร้อนผนึกกำลังภาคเอกชน ดีเดย์ 3 ก.ค. “วันปลอดถุงพลาสติกสากล” ยกระดับการดำเนินงานสู่เป้าหมาย Net Zero
‘พัชรวาท’ ปลุกคนไทย “วันสิ่งแวดล้อมโลก” ให้ร่วมกันแสดงพลัง “พลิกฟื้นผืนดิน สู้วิกฤตภัยแล้ง” เพื่อส่งต่อความอุดมสมบูรณ์ให้ลูกหลานในอนาคต
“บาเลนเซีย” เมืองบนชายฝั่งตะวันออกของสเปน ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ 6,658 แผงในสุสานท้องถิ่น ซี่งจะผลิตไฟฟ้าได้มากกว่า 440,000 กิโลวัตต์ต่อปี ลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากกว่า 140 ตันต่อปี
“สิงคโปร์แอร์ไลน์” ตกหลุมอากาศรุนแรงจนทำให้เครื่องบินดิ่งลงจากระดับความสูง 54 เมตร ในเวลา 4 วินาที หรือเทียบเท่าตึกสูง 18 ชั้น มีสาเหตุกมาจาก “ความร้อน” ที่มาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกหรืออุณหภูมิที่สูงขึ้นเหนือมแอ่งอิระวดีของเมียนมา
จากการศึกษาเส้นทางของถุงผ้าพบว่าการผลิตถุงผ้ามีคาร์บอนฟุตพริ้นท์สูงกว่าถุงพลาสติกแบบบาง และควรนำถุงผ้านั้นมาใช้อย่างน้อย 7,100 ครั้ง เพื่อตอบโจทย์ทางเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง
การศึกษาเพื่อประเมินผลของการสัมผัส PM2.5 ที่สูงขึ้นในระยะสั้น ส่งผลให้อาการทางจิตหลายประเภทแย่ลง จากจำนวนคนไข้ที่เข้าห้องฉุกเฉินทางจิตเวชและเข้ารับรักษาในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น ซึ่งรวมไปถึงการพยายามฆ่าตัวตาย
การศึกษาใหม่พบว่ามีเพียง 0.18% ของพื้นที่โลกและ 0.001% ของประชากรโลกเท่านั้นที่สัมผัสระดับ PM2.5 ต่ำกว่า 15 มคก./ลบ.ม. ตามเกณฑ์แนะนำคุณภาพอากาศ PM2.5 ใหม่ที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ
วันนี้ (7 มี.ค. 2566) ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานครรายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ของสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานคร ช่วงเวลา 05.00-07.00 น. ตรวจวัดได้ 58-93 มคก./ลบ.ม. ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพมหานคร 72.6 มคก./ลบ.ม. และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและอยู่ในระดับกระทบต่อสุขภาพ จำนวน 69…
หลังการเจรจาสองสัปดาห์ที่สำนักงานใหญ่ของสหประชาชาติในกรุงนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา ‘สนธิสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทางทะเล (United Nations Convention on the Law of the Sea)’ ได้รับการลงนามในเย็นวันเสาร์ 4 มีนาคม ที่ผ่านมา แม้การเจรจาจะใช้เวลานานกว่า 36 ชั่วโมง แต่ความพยายามในการสร้างข้อตกลงนี้มาร่วม 20 ปี
มีรายงานว่านิวซีแลนด์มีแผนการที่จะเก็บ “ภาษีเรอ” จากการเรอของแกะและวัว เพื่อจัดการกับหนึ่งในแหล่งก๊าซเรือนกระจกที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ หากเป็นจริงจะทำให้นิวซีแลนด์เป็นประเทศแรกที่เรียกเก็บเงินจากเกษตรกรสำหรับการปล่อยก๊าซมีเทนจากการทำปศุสัตว์ และเป็นมีเทนจากการ “เรอ” ซะด้วย