igreen

เปิดความจริงใหม่ ต้นกำเนิด ‘PM2.5’ ที่ไม่ได้มาจากการ ‘เผา-ควันรถ’

    ความจริงใหม่ “ควันรถ” และ การ “เผา” ไม่ใช่ต้นตอเดียวของฝุ่น PM2.5 เมื่อการทำปศุสัตว์ และการใช้ “ปุ๋ยไนโตรเจน” เกินขนาด สร้างมลภาวะมากกว่าที่คิด โดยเฉพาะ ข้าว และ อ้อย   ในยุคที่ฝุ่น PM2.5 กลายเป็นปัญหาใหญ่ที่คนไทยต้องเผชิญทุกวัน…

Read more

‘พะยูน’ ท้องทะเลไทย วิกฤต 48 ตัว ตายในปีเดียว

วิกฤตหนัก “พะยูน” ในท้องทะเลไทย 48 ตัว ตายในปีเดียว “หญ้าทะเล” แหล่งอาหารหลัก หาย ระบบนิเวศพัง สัญญาณสำคัญต่อมนุษย์ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา “พะยูน” ในท้องทะเลไทย ได้เผชิญกับความท้าทายที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของพวกมันอย่างมาก พะยูน หรือที่เรียกว่า “หมูน้ำ” ถือเป็นสัตว์ป่าสงวน ลำดับที่ 15 ของไทย…

Read more

‘เต่ามะเฟือง’ สัตว์สงวน เสี่ยงสูญพันธุ์ วางไข่รังแรกรับปี 2568

  ข่าวดีต้อนรับปี 2568! “เต่ามะเฟือง” สัตว์ป่าสงวนที่เสี่ยงสูญพันธุ์ วางไข่รังแรก 127 ฟอง สร้างความหวังใหม่ให้กับการอนุรักษ์ สัญญาณที่ดีต่อระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง ช่วยรักษาสมดุลและความหลากหลายทางชีวภาพ   เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2568 สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 6 (สทช.6) ได้รับแจ้งจากชาวบ้านในพื้นที่ ต.เกาะพระทอง อ.คุระบุรี…

Read more

กรีนพีซ เปิดผลทดสอบ ‘ไบโอพลาสติก’ เป็นมิตร-เป็นพิษ ต่อสิ่งแวดล้อม?

  กรีนพีซ เปิดผลทดสอบ “Beyond the Label: Debunking the Biodegradable Plastic Myth” ผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ใช้วัตถุดิบธรรมชาติ และพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ “ไบโอพลาสติก” อาจไม่ใช่ทางออกของการยุติวิกฤตมลพิษ “ขยะพลาสติก”   ปัญหา “ขยะพลาสติก” ที่ล้นโลก กลายเป็นวาระแห่งชาติ ที่ประเทศไทยมีความพยายาม…

Read more

‘ภาวะโลกปั่นป่วน’ เทรนด์โลก 2025 ความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อม

  เมื่อโลกก้าวเข้าสู่ปี 2025 กำลังเผชิญกับ “ภาวะโลกปั่นป่วน” ความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และการกระทำของมนุษย์ ที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและเศรษฐกิจทั่วโลก   1 ใน 9 เทรนด์โลกปี 2025 ที่ ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ วิเคราะห์ไว้ บ่งบอกถึงความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อม เพราะภัยพิบัติเพิ่มขึ้น ฝนตกหนัก…

Read more

‘วันคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ’ อนาคตสัตว์ป่าไทย ความท้าทายที่ต้องเผชิญ

26 ธันวาคม “วันคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ” ทบทวนสถานการณ์สัตว์ป่าในประเทศไทย ที่กำลังเผชิญกับความท้าทายจากการค้าสัตว์ป่า การสูญเสียถิ่นที่อยู่ และความเหลื่อมล้ำในการอนุรักษ์ ในอดีตประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติเป็นอย่างมาก ผืนป่าอันกว้างใหญ่ไพศาลยังไม่ถูกรุกราน จึงชุกชุมไปด้วยสัตว์ป่านานาชนิด ต่อมาเมื่อมีการค้าขายและเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างชาติ สัตว์ป่าจึงเป็นสินค้าส่งออกที่ได้รับความนิยม ทั้งการส่งนอแรด งาช้าง และของป่า ไปขายยังต่างประเทศเป็นจำนวนมาก ชีวิตสัตว์ป่าเริ่มถูกรุกราน ทำให้ลดจำนวนลงอย่างรวดเร็ว จนถึงขั้นที่สัตว์ป่าบางชนิด เช่น สมัน ต้องสูญพันธุ์ไปจากประเทศไทยอย่างน่าเสียดาย…

Read more

‘COP-19’ ดันอาเซียน เป็นภูมิภาคปลอด หมอกควัน

ที่ประชุมรัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมอาเซียน COP-19 เห็นพ้อง ผลักดันประเทศอาเซียน เป็นภูมิภาคปลอดหมอกควัน ตั้งคณะทำงานพิจารณาแนวทาง ลดจุดความร้อนในพื้นที่พรุอาเซียน ให้ได้ตามเป้า

Read more

‘สารเคมีตลอดกาล’ ภัยร้ายคุกคาม ทุกอณูบนโลก อยู่ในทุกผลิตภัณฑ์ที่ใช้

ทำความรู้จัก “สารเคมีตลอดกาล” PFAS หายนะ สุขภาพ-สิ่งแวดล้อม ปนเปื้อนทุกที่ในโลก อยู่ในทุกผลิตภัณฑ์ที่ใช้ หลังพบในน้ำแร่ 10 จาก 19 ยี่ห้อ ในยุโรป การตรวจพบ “กรดไตรฟลูออไรอะซีติค” หรือ TFA (Trifluoroethanoic acid) ซึ่งเป็น “สารเคมีตลอดกาล” (PFAS)…

Read more

‘เลียงผา’ นักสู้แห่งขุนเขา กับ 3 ปัจจัย สูญพันธุ์

“เลียงผา” นักสู้แห่งขุนเขา 1 ใน 21 สัตว์ป่าสงวน ของประเทศไทย กับ 3 ปัจจัย แนวโน้ม (ใกล้) สูญพันธุ์  สภาพแวดล้อม บุกรุกป่า ฆ่าเพื่อทำยา การอวดโฉมของ “เลียงผา” สัตว์ที่ขึ้นชื่อว่า เป็นนักปีนหน้าผาผู้เก่งกาจ และพบเจอได้ยาก ปรากฎอยู่บนยอดเขาหินปูนสูงชัน…

Read more

ช่องโหว่รับมือ ‘ภัยพิบัติ’ ไทย รัฐยังไม่เชื่อ Climate Change อย่างแท้จริง

ถอดบทเรียนเพื่อการจัดการภัยพิบัติอย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต นักวิชาการตีแผ่ช่องโหว่ รัฐยังไม่เชื่อใน Climate Change อย่างแท้จริง ขาดหน่วยงานกลางรับผิดชอบ นับตั้งแต่เหตุการณ์สึนามิ จนถึงวันนี้

Read more