การปรับตัวสู้โลกร้อน ยังห่างไกลข้อตกลงปารีส ไทยติดกลุ่มเสี่ยงสูง
การลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการปรับตัวสู้ภัยโลกร้อนยังล่าช้า และห่างไกลเป้าหมายความตกลงปารีสที่จะคุมอุณหภูมิไม่ให้เกิน 1.5 องศา
การลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการปรับตัวสู้ภัยโลกร้อนยังล่าช้า และห่างไกลเป้าหมายความตกลงปารีสที่จะคุมอุณหภูมิไม่ให้เกิน 1.5 องศา
สิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นต่อสภาพภูมิอากาศโลก หาก “ทรัมป์” ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอีกสมัย คงต้องใช้คำว่าโลกเข้าสู่ “หายนะ” หนักขึ้น
พิธีฮัจญ์ในนครเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ปีนี้มีผู้เสียชีวิตแล้วกว่า 1,300 ราย เนื่องจากสภาพอากาศที่ร้อนจัด อุณหภูมิพุ่งสูงถึง 51 องศาเซลเซียส
‘พัชรวาท’ ปลุกคนไทย “วันสิ่งแวดล้อมโลก” ให้ร่วมกันแสดงพลัง “พลิกฟื้นผืนดิน สู้วิกฤตภัยแล้ง” เพื่อส่งต่อความอุดมสมบูรณ์ให้ลูกหลานในอนาคต
“สิงคโปร์แอร์ไลน์” ตกหลุมอากาศรุนแรงจนทำให้เครื่องบินดิ่งลงจากระดับความสูง 54 เมตร ในเวลา 4 วินาที หรือเทียบเท่าตึกสูง 18 ชั้น มีสาเหตุกมาจาก “ความร้อน” ที่มาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกหรืออุณหภูมิที่สูงขึ้นเหนือมแอ่งอิระวดีของเมียนมา
ช่วงนี้เกิดปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาวเยอะมาก ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน ทำให้อุทยานทั้งหลายต้องสั่งปิดแหล่งท่องเที่ยวกันจ้าละหวั่น เราก็เลยอยากพาไปทำความรู้จักสัตว์ทะเลหายากตัวหนึ่งที่เขาบอกว่า เอาตัวรอดเก่ง มันคือ “เม่นหมวกกันน็อค” ซึ่งปกติเม่นทะเลจะมีหนามแหลมๆ ตามลำตัว แต่เจ้าตัวนี้กลับไร้หนาม ทั้งที่ๆ ที่มันเป็นสัตว์ในกลุ่มผิวลำตัวเป็นหนาม (Echinoderm) เช่นเดียวกับ ดาวทะเล ดาวขนนก ดาวเปราะ และปลิงทะเล
ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียนกำลังตกเป็นเป้าการโจมตีของคลื่นความร้อนอย่างรุนแรง บางพื้นที่กำลังสำลักมลพิษอากาศจากฝุ่น PM2.5 อยู่แล้ว ทำให้สถานการณ์ที่เลวร้ายอยู่เดิมยิ่งมีอันตรายมากขึ้นถึงชีวิต
องค์การบริหารมหาสมุทรและบรรยากาศแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (NOAA) ประกาศอย่างเป็นทางการว่า ปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาวครั้งใหญ่ของโลกกำลังเริ่มขึ้นแล้ว นับเป็นครั้งที่ 4 ในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา ปรากฎการณ์นี้จะส่งผลกระทบร้ายแรงต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล รวมถึงผู้คนและเศรษฐกิจที่พึ่งพาแนวปะการัง ปัจจัยกระตุ้นปรากฎการณ์นี้หนีไม่พ้น ‘สภาวะโลกเดือด’
ภายหลังโลกต้องเผชิญกับภัยพิบัติภูมิอากาศอย่างหนักหนาสาหัสมาตลอดทั้งปี 2566 โดยเฉพาะภัยจากคลื่นความร้อนสุดขั้ว ที่ส่งผลให้ปี 2566 ถือเป็นปีที่ร้อนที่สุดนับตั้งแต่มีการบันทึก อย่างไรก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ชี้ว่า สถิตินี้อาจมีอายุไม่ยืดนัก เพราะเราอาจจะต้องเจอกับปีที่ร้อนจัดยิ่งกว่าในปี 2567
ปี 2566 เป็นปีที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกกันมา โดยอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1.4 องศาเซลเซียส จากค่าพื้นฐานในช่วงปี 2359-2443 ซึ่งเป็นช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรม โดยสูงกว่าปี 2559 และ 2563 ที่เคยทำสถิติสูงสุดมาก่อนหน้านี้ ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากปรากฎการณ์เอลนีโญที่ทำให้เกิดภาวะแล้งที่ยาวนาน นอกจากนี้ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นมากกว่า 50% จากยุคก่อนอุตสาหกรรมปกคลุมชั้นบรรยากาศ ทำให้ไม่สามารถถ่ายเทความร้อนออกไปได้ (1)