“แหนเป็ด” พืชเล็กๆ สีเขียวที่ลอยอยู่เหนือผิวน้ำตามหนองบึง กำลังจะกลายเป็น “ซูเปอร์ฟู้ด” แหล่งอาหารที่ให้โปรตีนสูงมากกว่าถั่วเหลือง 7 เท่า
climatechange
เมื่อ “ทรัมป์” ผู้นำมหาอำนาจโลกไม่เชื่อเรื่องภาวะโลกร้อนเป็นพื้นฐาน โลกจึงตกอยู่ในความเสี่ยงและจะมีส่วนขัดขวางนโยบายการเปลี่ยนผ่านพลังงาน
อุณหภูมิทะลุ 3.1°C แผนลดก๊าซเรือนกระจกในปี 2030 เป็นเรื่องเพ้อฝัน
ผลกระทบจากสภาพอากาศทั่วโลกรุนแรงมากขึ้น หากทุกประเทศไม่ทำตามแผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เป็นไปตามเป้า โอกาสที่โลกจะได้รับผลกระทบจะรุนแรงมาก
โลกเดือดเขย่ายุโรป น้ำท่วมสเปนดับ 200 เสียหายหนักครั้งประวัติศาสตร์
เกิดน้ำท่วมใหญ่ครั้งเลวร้ายสุดในประวัติศาสต์สเปน มีผู้เสียชีวิต 158 ราย หลังฝนถล่มต่อเนื่อง 8 ชั่วโมงติด นี่คือบทลงโทษของภาวะโลกร้อน
จับตา COP29 ลดพลังงานอย่างไร เมื่อกลุ่มตะวันออกกลางไม่เลิกฟอสซิล
โลกจะได้เห็นความคืบหน้าอะไรบ้างในการประชุม COP29 ในเดือน พ.ย.นี้ ท่ามกลางการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยอาจสูงถึง 3.1 องศาเซลเซียส
น้ำท่วมใหญ่ทะเลทรายซาฮาราทำให้ทะเลสาบที่เคยแห้งแล้งมานานร่วม 50 ปีกลับเต็มไปด้วยน้ำ ซึ่งอุทกภัยที่เกิดในหลายประเทศของแอฟริกาทำให้คนตายเพียบ
รู้จักกฎหมายโลกร้อนฉบับละเอียด ธุรกิจซื้อคาร์บอนเครดิตได้ไม่เกิน 15%
อธิบดีกรมลดโลกร้อนอธิบายกฎหมายโลกร้อนละเอียด คาดได้ใช้ปี 59 อปท.จะได้เงินอุดหนุน 10% ธุรกิจที่ปล่อยก๊าซเกินจะซื้อคาร์บอนเครดิตได้ไม่เกิน 15% ดร.พิรุณ สัยยะสิทธิ์พานิช อธิบดีกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม บรรยายหัวข้อ “พ.ร.บ.การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ : กลไกสู่ภูมิคุ้มกัน Climate Change” ในเวทีประชุมภาคีการขับเคลื่อนการปฏิบัติงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของไทย ครั้งที่ 3 หรือ Thailand Climate …
ฝนตกหนัก น้ำป่าไหลหลากภาคเหนือ ป่าไม้ลดลงหรือ Climate Change?
เหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในพื้นที่ภาคเหนือครั้งรุนแรงมีสาเหตุจากการตัดไม้ทำลายป่าใช่หรือไม่…หรือนี่คือการเขย่าขวัญจากภาวะโลกเดือด
30 ปี กรุงเทพจมทะเล ไม่อยู่บนแผนที่โลก ไม่ย้ายเมืองหลวงจะรอดไหม?
นักวิทยาศาสตร์ตอกย้ำหลายครั้งว่าวิกฤตโลกร้อนจะทำให้ประเทศหมู่เกาะและเมืองชายฝั่งเสี่ยงจมทะเล แต่ดูเหมือนประเทศไทยจะยังไม่ตื่นตัวรับมือมากพอ เมืองหลวงของหลายประเทศในอาเซียนมีโอกาสสูงมากที่จะจมทะเล ด้วยภาวะโลกร้อนเข้าสู่วิกฤตหนักหน่วงมากยิ่งขึ้น โดยไม่มีทีท่าจะหยุดยั้งกิจกรรมการพัฒนาของมนุษย์ในทุกมิติลงได้ ก๊าซเรือนกระจกจึงถูกปล่อยในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ มหาสมุทรซึ่งมีศักยภาพในการดูดซับความร้อนและคาร์บอนไดออกไซด์ไปกักเก็บใต้ทะเลก็ไม่อาจรับไหว น้ำทะเลอุ่นจึงมากขึ้น ซึ่งแน่นอนอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นได้เร่งอัตราการละลายธารน้ำแข็งขั้วโลก ระดับน้ำทะเลก็ยิ่งเพิ่มสูงขึ้นในทุกปี ข้อมูลรายงานฉบับหนึ่งที่ชื่อ State of Climate in the South-West Pacific 2023 ขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) …
การปฏิรูประบบอาหารมาแน่และใหญ่แน่ เพราะก๊าซคาร์บอนที่ถูกปล่อยเมื่อศตวรรษที่แล้วยังถึงวันนี้ ก๊าซคาร์บอนที่ปล่อยในวันนี้ก็จะอยู่ไปถึงศตวรรษหน้า