พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งเป็นขยะที่มีจำนวนมาก กระจายไปทั่วโลก โดยเฉพาะไหลไปกองรวมกันในมหาสมุทร ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของมนุษย์
ไมโครพลาสติก
นักวิทยาศาสตร์ในเยอรมนีค้นพบชนิดของแบคทีเรียและเชื้อราที่สามารถสลายพลาสติกสังเคราะห์ได้ ซึ่งอาจเป็นอาวุธใหม่ในการต่อสู้กับมลพิษพลาสติกทั่วโลก
3 ก.ค. ของทุกปี คือ “วันปลอดถุงพลาสติกสากล” ซึ่งหน่วยงานทุกองค์กรออกมารณรงค์กันไม่รู้จักเหน็ดเหนือย แต่ขยะพลาสติกกลับเพิ่มมากขึ้น
บีบีซี รายงานว่า กองทัพเนปาลได้ส่งเจ้าหน้าที่ทหารขึ้นไปขนขยะจากยอดเขาเอเวอเรสต์ และยอดเขาบนเทือกเขาหิมาลัย 2 ยอดได้มากถึง 11 ตัน รวม 5 ครั้งเก็บขยะได้ 119 ตัน คาดมีนักปีนเขามากถึง 200 คน ทหารต้องใช้เวลา 55 วันในการเก็บขยะและเคลื่อนย้ายศพจากยอดเขาเอเวอเรสต์ ยอดเขานุปเซ และยอดเขาโลตเซ โดยคาดว่าอาจจะมีขยะมากกว่า …
นักวิทยาศาสตร์ประเมินว่ามีไมโครพลาสติกประมาณ 14 ล้านตันบนพื้นมหาสมุทร และอีก 24 ล้านชิ้นที่ลอยอยู่บนพื้นผิวมหาสมุทร ไมโครพลาสติกมาจากหลายแห่ง แต่คาดว่า 35% ของมลพิษไมโครพลาสติกในมหาสมุทรนั้นมาจากกระบวนการซักผ้า
การใส่คอนแทคเลนส์เป็นเวลา 10 ชั่วโมงต่อวัน อาจทำให้มีไมโครพลาสติก ‘ไหล’ เข้าตาได้ ทีมวิจัยจึงเรียกร้องให้มีการศึกษาเพิ่มถึงผลกระทบต่อสุขภาพ
วิจัยเผย ‘นาโนพลาสติก’ อนุภาคขนาดจิ๋วจากไนลอนที่พบได้ในเสื้อผ้าสามารถแทรกซึมเข้าร่างกายมนุษย์เพียงสูดลมหายใจ เสี่ยงกระทบภาวะสืบพันธุ์
นักวิทย์พัฒนา ‘หุ่นยนต์จิ๋ว’
ขนาดบางกว่าเส้นผมมนุษย์
ใช้กำจัดไมโครพลาสติก และนาโนพลาสติกในน้ำ
นักวิทยาศาสตร์ร่วมกันพัฒนาหุ่นยนต์ขนาดเล็กที่ขับเคลื่อนด้วยการแลกเปลี่ยนไอออนที่ไม่บริสุทธิ์ในน้ำ เพื่อกำจัดไมโครพลาสติกและนาโนพลาสติก (MNPs) ออกจากน้ำ โดยตัวหุ่นยนต์มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 20-100 ไมครอน ซึ่งบางกว่าเส้นผมมนุษย์ และสามารถทำงานได้โดยไม่ต้องป้อนพลังงานเพิ่ม
ไมโครพลาสติกได้แพร่กระจายทะลุทะลวงสู่ระบบนิเวศเกือบทุกแห่งหนในโลก ทั้งที่ถูกค้นพบในดิน แม่น้ำ อาหาร และแม้กระทั่งในร่างกายของมนุษย์ เมื่อเร็วๆ นี้ทีมนักวิจัยพบว่า ไมโครพลาสติกในน้ำติดอยู่ในซอกใบพืชเป็นครั้งแรก