การปรับตัวสู้โลกร้อน ยังห่างไกลข้อตกลงปารีส ไทยติดกลุ่มเสี่ยงสูง
การลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการปรับตัวสู้ภัยโลกร้อนยังล่าช้า และห่างไกลเป้าหมายความตกลงปารีสที่จะคุมอุณหภูมิไม่ให้เกิน 1.5 องศา
การลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการปรับตัวสู้ภัยโลกร้อนยังล่าช้า และห่างไกลเป้าหมายความตกลงปารีสที่จะคุมอุณหภูมิไม่ให้เกิน 1.5 องศา
วิกฤตโลกร้อนส่งผลให้ “กระแสน้ำมหาสมุทร” ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเกิดความผิดปกติ และอาจนำไปสู่การล่มสลายภายในศตวรรษนี้? กระแสน้ำมหาสมุทร คือ ประเด็นใหญ่ที่นักวิทยาศาสตร์กำลังจับตาและกังวล.ว่า มันระบบการไหลเวียนกำลังเดินเข้าสู่จุดจบหรือไม่ แต่ก่อนอื่นต้องเข้าใจกันก่อนว่า กระแสน้ำมหาสมุทรเป็นกลไกทางธรรมชาติในการควบคุมอุณหภูมิโลก ที่ทำให้ประเทศในแถบละติจูดสูงๆ ไม่ให้แตกต่างจากประเทศในแถบร้อนมากจนเกินไป ซึ่งเป็นกลไกมาจากกระแสน้ำในมหาสมุทรที่เกิดจากแรงดันของเกลือที่เรียกว่า กระแสน้ำเทอร์โมฮาไลน์ (Thermohaline Circulation) กระแสน้ำที่ว่านี้จะไหลเวียนไปในทุกๆ มหาสมุทรสำคัญของโลกเปรียบเสมือนสายพานลำเลียงขนาดยักษ์ (Global Conveyor Belt) ที่พัดพาน้ำอุ่นจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรไปแลกเปลี่ยนกับน้ำเย็นจากแถบขั้วโลกเป็นวงจรไปกลับ…
การสร้าง “เมืองฟองน้ำ” เป็นแนวทางหนึ่งในการกักเก็บน้ำไว้บนหลังคาและแหล่งซับน้ำตามธรรมชาติ ซึ่งมีต้นแแบอยู่เมืองอัมสเตอร์ดัม และจีนกำลังสร้างบ้าง แต่ยังไม่สำเร็จ
จีนเผชิญอุทกภัยครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่มีการบันทึกข้อมูล โดยปีนี้ต้องออกคำเตือนแล้ว 25 ครั้ง หลังจากเมื่อ ก.ค. ที่ผ่านมาเผชิญอากาศร้อนที่สุด
คลื่นความร้อนจากอุณหภูมิที่ร้อนจัดส่งผลให้ประชาชนในแถบเมดิเตอร์เรเนียน เสี่ยงเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ล่าสุดกระทบต่อการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในกรุงปารีส
ที่ประชุมรัฐมนตรีคลังกลุ่มประเทศ G20 เห็นชอบให้เก็บภาษีทรัพย์สินจากมหาเศรษฐีของโลก คาดระดมเงินได้ราว 230,000 ล้านยูโร เพื่อใช้แก้ปัญหาโลกร้อน
อาจารย์ธรณ์ไม่หวังพึ่งระบบราชการแก้โลกเดือด ด้านเอกชนรายใหญ่เข้าสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ แต่ยังติดกับดักจีดีพีที่มุ่งกำไร คนไทยต้องตัวใครตัวมัน
กรมชลฯ คาดการณ์ 1-3 วันข้างหน้าต้องระบายน้ำผ่านท้ายเขื่อนเจ้าพระยา 800-1,100 ลบ.ม.ต่อวินาที ให้ประชาชนริมฝั่งเจ้าพระยา เฝ้าระวังน้ำท่วม
โอลิมปิก 2024 ณ กรุงปารีส ถูกยกย่องให้เป็นการแข่งขันกีฬาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่สุดในประวัติศาสตร์ แต่ล่าสุดยอมติดแอร์ 2,500 เครื่อง
ปี 2566 บริษัทและรัฐบาลต่างๆ ประกาศโครงการดักจับและกักเก็บคาร์บอนใต้ทะเลมากกว่า 50 โครงการทั่วโลก หากทำได้เท่ากับจะมีปริมาณคาร์บอน 450 ล้านตัน ถูกอัดเข้าไปใต้ทะเลทุกๆ ปี และจะเกิดความเสี่ยงที่ไม่อาจคาดเดา