บราซิลพบ ‘หินพลาสติก’ บนเกาะอนุรักษ์แหล่งวางไข่เต่าตนุ
นักวัจัยบราซิลพบ ‘หินพลาสติก’ ที่เกาะ Trindade แหล่งวางไข่เต่าตนุ สัญญาณเตือนผลกระทบขยะพลาสติกธรณีวิทยาโลก
นักวัจัยบราซิลพบ ‘หินพลาสติก’ ที่เกาะ Trindade แหล่งวางไข่เต่าตนุ สัญญาณเตือนผลกระทบขยะพลาสติกธรณีวิทยาโลก
ระดับมลพิษอากาศที่สูงขึ้นมีความสัมพันธ์กับการสูญเสียความหนาแน่นขอมวลกระดูก โดยเฉพาะที่กระดูกสันหลังส่วนเอวในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน
การศึกษาเพื่อประเมินผลของการสัมผัส PM2.5 ที่สูงขึ้นในระยะสั้น ส่งผลให้อาการทางจิตหลายประเภทแย่ลง จากจำนวนคนไข้ที่เข้าห้องฉุกเฉินทางจิตเวชและเข้ารับรักษาในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น ซึ่งรวมไปถึงการพยายามฆ่าตัวตาย
บิลาล อาเหม็ด ครูสอนคณิตศาสตร์ชาวอินเดีย ประกอบรถยนต์หรูขับเคลื่อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์โดยใช้แผงโซลาร์เซลล์ติดรอบพื้นผวรถยนต์
นายอรรถพล เจริญชันษา อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) เปิดเผยว่า เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดให้เตาเผาศพเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2565 เมื่อวันที่ 22 มิ.ย. 2565 ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาการร้องเรียนเกี่ยวกับเขม่าควันและกลิ่นจากการเผาศพ
ตั้งแต่วันที่ 1 มิ.ย. 2566 ประเทศไทยจะปรับค่าเฉลี่ยมาตรฐานฝุ่น PM2.5 ราย 24 ชั่วโมงใหม่ จากเดิมอยู่ที่ 50 มคก./ลบ.ม. ลดลงเป็น 37.5 มคก./ลบ.ม.และค่าเฉลี่ยรายปีจากเดิม 25 มคก./ลบ.ม. ปรับลดลงเป็น 15 มคก./ลบ.ม. โดยจะมีผลบังคับใช้หลังลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา หรืออีกประมาณ…
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเวโรนา ประเทศอิตาลีทำการศึกษาวิเคราะห์การได้รับฝุ่นละอองขนาดเล็ก คือฝุ่น PM10 และ PM2.5 ซึ่งผลิตโดยแหล่งต่าง ๆ เช่น รถยนต์และโรงไฟฟ้าโดยเฉลี่ยในระยะยาวระดับความเข้มข้นของฝุ่น PM10 ถ้าสูงถึง 30 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.) และ PM2.5 สูงถึง 20 มคก./ลบ.ม. โดยทั่วไปถือว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์
นายอรรถพล เจริญชันษา อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เปิดเผยว่า สถานการณ์คุณภาพอากาศ ปี 2564 ภาพรวมคุณภาพอากาศดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา ปริมาณฝุ่นละออง PM2.5 มีค่าเฉลี่ยรายปีทั่วประเทศ 21 มคก./ลบ.ม. (ลดลงจากปี 2563 ร้อยละ 9) ฝุ่นละออง PM10 มีค่าเฉลี่ยรายปีทั่วประเทศ…
ซาดิค ข่าน (Sadiq Khan) นายกเทศมนตรีมหานครลอนดอน เรียกร้องให้มีการดำเนินการอย่างเร่งด่วนหลังจากการวิเคราะห์พบว่าโรงพยาบาลและศูนย์การแพทย์ทุกแห่งในลอนดอนอยู่ในพื้นที่มีมลพิษอากาศที่เกินค่ามาตรฐานตามที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนด การวิเคราะห์ใหม่นี้อ้างอิงจากข้อมูลการปล่อยมลพิษในบรรยากาศลอนดอนล่าสุด พบว่าคุณภาพอากาศที่โรงพยาบาลและศูนย์การแพทย์ในเมืองนั้นไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของ WHO นั่นคือ ไนโตรเจนไดออกไซด์ และฝุ่นละอองขนาดเล็ก