เกิดน้ำท่วมใหญ่ครั้งเลวร้ายสุดในประวัติศาสต์สเปน มีผู้เสียชีวิต 158 ราย หลังฝนถล่มต่อเนื่อง 8 ชั่วโมงติด นี่คือบทลงโทษของภาวะโลกร้อน
ภัยพิบัติ
เตือนประชาชนที่อาศัยนอกคันกั้นน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยาในพื้นที่นนทบุรีเตรียมยกของขึ้นที่สูง คาดน้ำท่วมฉับพลัน 6-23 ต.ค. 67
ฝนตกหนัก น้ำป่าไหลหลากภาคเหนือ ป่าไม้ลดลงหรือ Climate Change?
เหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในพื้นที่ภาคเหนือครั้งรุนแรงมีสาเหตุจากการตัดไม้ทำลายป่าใช่หรือไม่…หรือนี่คือการเขย่าขวัญจากภาวะโลกเดือด
เหตุการณ์น้ำท่วมเมืองเชียงรายถือเป็นวิกฤตการบริหารจัดการน้ำระดับชาติ เพราะรู้สถานการณ์ล่วงหน้า แต่ไม่มีแผนรองรับ งบประมาณมากแต่รับมือไม่ได้
อิทธิพลไต้ฝุ่น’ยางิ’ 8 – 13 ก.ย. ฝนตกเพิ่มทุกภาค เสี่ยงน้ำท่วมทั่วไทย
ช่วง 9 – 10 ก.ย. มีน้ำไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มในอัตรา 1,500 – 2,000 ลบ.ม.ต่อวินาที พื้นที่น้ำท่วม 116.21 ตาราง กม.ใน จ.ปทุมธานี และนนทบุรี
ก๊าซเรือนกระจกสุดกู่ ‘กระแสน้ำมหาสมุทร’ รวน ภัยพิบัติถี่ขึ้น-รุนแรงขึ้น
วิกฤตโลกร้อนส่งผลให้ “กระแสน้ำมหาสมุทร” ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเกิดความผิดปกติ และอาจนำไปสู่การล่มสลายภายในศตวรรษนี้? กระแสน้ำมหาสมุทร คือ ประเด็นใหญ่ที่นักวิทยาศาสตร์กำลังจับตาและกังวล.ว่า มันระบบการไหลเวียนกำลังเดินเข้าสู่จุดจบหรือไม่ แต่ก่อนอื่นต้องเข้าใจกันก่อนว่า กระแสน้ำมหาสมุทรเป็นกลไกทางธรรมชาติในการควบคุมอุณหภูมิโลก ที่ทำให้ประเทศในแถบละติจูดสูงๆ ไม่ให้แตกต่างจากประเทศในแถบร้อนมากจนเกินไป ซึ่งเป็นกลไกมาจากกระแสน้ำในมหาสมุทรที่เกิดจากแรงดันของเกลือที่เรียกว่า กระแสน้ำเทอร์โมฮาไลน์ (Thermohaline Circulation) กระแสน้ำที่ว่านี้จะไหลเวียนไปในทุกๆ มหาสมุทรสำคัญของโลกเปรียบเสมือนสายพานลำเลียงขนาดยักษ์ (Global Conveyor Belt) ที่พัดพาน้ำอุ่นจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรไปแลกเปลี่ยนกับน้ำเย็นจากแถบขั้วโลกเป็นวงจรไปกลับ …
สิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นต่อสภาพภูมิอากาศโลก หาก “ทรัมป์” ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอีกสมัย คงต้องใช้คำว่าโลกเข้าสู่ “หายนะ” หนักขึ้น