POLLUTION

  • นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เปิดเผยภายหลังหารือร่างแผนปฏิบัติการพัฒนาระบบจัดการมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดของ กทม. ร่วมกับ 30 องค์กร นำโดย ดร.สุจิตรา วาสนาดำรงดี สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยผู้ว่าฯ กทม.ระบุว่า ผลจากการหารือแผนและรายละเอียดมีหลักใหญ่ที่ต้องทำ ดังนี้

  • เชื่อว่ามีพลาสติกมากกว่า 5 ล้านล้านชิ้นอยู่ในมหาสมุทรของโลก และไม่มีใครตอบได้ว่ามันจะสลายตัวหรือหายไปเมื่อไหร่ นั่นเพราะมนุษย์ผลิต ใช้และทิ้งพลาสติกทุกวัน โดยในแต่ละปีมีการผลิตพลาสติกมากถึง 400 ล้านตัน และ 40% เป็นพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง

  • การเกิดฝุ่นละออง PM2.5 มีความซับซ้อน และมีสาเหตุจากหลายแหล่งกำเนิด ทั้งท่อไอเสียรถยนต์เครื่องยนต์ดีเซล โดยเฉพาะจากรถบรรทุก รถกระบะ และรถโดยสาร ซ้ำเติมด้วยการเผาในที่โล่ง และการปล่อยควันของโรงงานอุตสาหกรรม

  • นโยบายการแก้ปัญหามลพิษอากาศในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ทั้งภาครัฐและเอกชนอาจดูมีมุมมองที่แตกต่าง ทำให้เห็นได้ว่าทิศทางการแก้ปัญหายังไม่สอดคล้องกัน แม้จะมีกฎหมายมากพอในการใช้บังคับ มีองค์ความรู้ทางวิชาการที่หลากหลาย แต่ในสภาพความเป็นจริงสถานการณ์ฝุ่น PM2.5 ในเมืองหลวงและจังหวัดโดยรอบยังอยู่ในระดับที่มีอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน

  • ปฏิเสธไม่ได้ว่าอันตรายจากสิ่งที่มองไม่เห็นเป็นเรื่องยากต่อการอธิบาย สร้างความเข้าใจ และความตระหนักต่อประชาชน โดยเฉพาะภัยคุกคามจากมลพิษอากาศ อย่างเช่นฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนหรือฝุ่น PM2.5 ซึ่งองค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่า แต่ละปีในประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตก่อนวัยอันควรร่วม 5 หมื่นคน และมีต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์มูลค่า 8-9 แสนล้านบาท 

  • ตั้งแต่วันที่ 1 มิ.ย. 2566 ประเทศไทยจะปรับค่าเฉลี่ยมาตรฐานฝุ่น PM2.5 ราย 24 ชั่วโมงใหม่ จากเดิมอยู่ที่ 50 มคก./ลบ.ม. ลดลงเป็น 37.5 มคก./ลบ.ม.และค่าเฉลี่ยรายปีจากเดิม 25 มคก./ลบ.ม. ปรับลดลงเป็น 15 มคก./ลบ.ม. โดยจะมีผลบังคับใช้หลังลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา หรืออีกประมาณ 2-3 เดือนนี้

Copyright @2021 – All Right Reserved.