ผลการศึกษาใหม่ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ทางทะเลและวิศวกรรมศาสตร์แสดงให้เห็นว่าตัวอ่อนล็อบสเตอร์ที่สัมผัสกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าของสายไฟใต้น้ำต้องเกิดมาเสียรูปและไม่สามารถว่ายน้ำได้ดี และพวกมันยังมีแนวโน้มที่จะเสียรูปในลักษณะใดทางหนึ่งมากถึงสามเท่า
ผลการศึกษาใหม่ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ทางทะเลและวิศวกรรมศาสตร์แสดงให้เห็นว่าตัวอ่อนล็อบสเตอร์ที่สัมผัสกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าของสายไฟใต้น้ำต้องเกิดมาเสียรูปและไม่สามารถว่ายน้ำได้ดี และพวกมันยังมีแนวโน้มที่จะเสียรูปในลักษณะใดทางหนึ่งมากถึงสามเท่า
ปูหิมะ (Chionoecetes) เป็นปูที่นิยมกินกันมากทั้งในอเมริกา ญี่ปุ่น และนิยมในหมู่คนไทยด้วย เพราะขนาดตัวและขาที่มีขนาดใหญ่ทำให้มีเนื้อที่เยอะและแน่น
พบซากฉลามหน้าตาแปลก ๆ ตัวหนึ่งเพิ่งจะลอยมาเกยฝั่งที่คอร์นวอลล์ ประเทศอังกฤษ จากการตรวจสอบจึงรู้ว่าฉลามที่มีความยาว 3.96 เมตร ตัวนี้คือ ฉลามกรีนแลนด์ (Greenland shark) ซึ่งเป็นวัยรุ่นเท่านั้น แต่วัยรุ่นของฉลามพันธุ์นี้มีอายุมากกว่า 100 ปีเข้าไปแล้ว!
แม้ว่าจะมีปลาหลายร้อยสายพันธุ์ที่ค้นพบนอกชายฝั่งมัลดีฟส์ แต่นี่เป็นการค้นพบสายพันธุ์ใหม่ และเป็นครั้งแรกที่นักวิจัยชาวมัลดีฟส์มีโอกาสตั้งชื่อให้ มันยังเป็นสปีชีส์แรกที่ใช้ชื่อภาษาดีเวฮี ภาษาท้องถิ่นของมัลดีฟในชื่อ Cirrhilabrus finifenmaa คำว่า ‘finifenmaa’ หมายถึง ‘ดอกกุหลาบ’ เพราะปลาสายพันธุ์ใหม่นี้มีเฉดสีชมพูเหมือนกับดอกไม้ประจำชาติของประเทศมัลดีฟ และสีวันของพวกมันจะยิ่งเด่นชัดช่วงเวลาผสมพันธุ์ อาเหม็ด นาจีบ นักชีววิทยาจากสถาบันวิจัยทางทะเลแห่งมัลดีฟส์ (MMRI) กล่าวว่า นักวิทยาศาสตร์จากต่างประเทศมักจะเป็นคนตั้งชื่อสายพันธุ์ที่พบในมัลดีฟส์โดยที่นักวิทยาศาสตร์ท้องถิ่นไม่มีส่วนเกี่ยวข้องมากนัก “คราวนี้มันแตกต่างออกไปและการได้เป็นส่วนหนึ่งของบางสิ่งเป็นครั้งแรกนั้นน่าตื่นเต้นมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีโอกาสได้ทำงานร่วมกับนักวิทยาศาสตร์ชั้นแนวหน้ากับสายพันธุ์ที่สง่างามและสวยงามเช่นนี้” นาจีบ กล่าว ที่จริงมันถูกรวบรวมตัวอย่างมาครั้งแรกโดยนักวิจัยในปี 1990 และเดิมทีเข้าใจว่า C. finifenmaa คิดว่าเป็นรุ่นผู้ใหญ่ของสายพันธุ์ Cirrhilabrus …