Climate Change

  • จริงอยู่ว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในหมู ไก่ วัว ส่งเสริมให้การเจริญเติบโตและสุขภาพที่ดีในสัตว์ได้ แต่ถ้าใช้มากไปหรือผิดวิธี มันจะเป็นหนึ่งเหตุปัจจัยภาวะดื้อยาที่ในมนุษย์ผู้บริโภคอย่างเรา งานวิจัยที่ตีพิมพ์ใน PLOS Global Public Health พบว่ามีการใช้ยาต้านจุลชีพมากขึ้นโดยเฉพาะในปศุสัตว์ คาดว่าภายในปี 2573 ยาต้านจุลชีพจะถูกนำมาใช้จะถูกนำมาใช้กับหมู ไก่ วัว และแกะประมาณ 107,500 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้น จากปี 2020 ถึง 8% ยาต้านจุลชีพ คือยาที่มีฤทธิ์ในการฆ่า ทำลาย หรือยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ซึ่งหมายรวมถึง …

  • คนส่วนใหญ่คิดว่ามลพิษอากาศเป็นสิ่งที่มาจากภายนอก เช่น โรงงาน สถานก่อสร้าง หรือท่อไอเสียยนต์ แต่ในความเป็นจริงแล้วอากาศภายในบ้านหรือในที่ทำงานก็มีโอกาสเป็นเป็นมลพิษได้เช่นกัน ซึ่งมลพิษอากาศภายในอาคารอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมากกว่ามลพิษทางอากาศภายนอกอาคารด้วยซ้ำ

  • มลพิษทางอากาศเป็นสาเหตุสำคัญของโรคไม่ติดต่อ ไม่ว่าจะเป็น โรคหอบหืด โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง มะเร็งปอด และอาจรวมถึงโรคสมองเสื่อม ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาทั่วโลกพยายามปรับปรุงคุณภาพอากาศภายนอกอาคาร เช่น PM 2.5 แต่คุณภาพอากาศภายในอาคารกลับถูกมองข้ามแม้ว่าอาจทำให้เสียชีวิตได้เกือบเท่าๆ กัน

  • โศกนาฏกรรม “แผ่นดินไหวตุรกี” รอบ 100 ปี ซึ่งเกิดรอยเลื่อนเคลื่อนตัวยาวกว่า 300 กม. เป็นบทเรียนให้ทราบว่าโครงสร้างอาคารที่ไม่ได้ออกแบบรองรับแผ่นดินดินไหวเป็นความเสี่ยง และสาเหตุทำให้อาคารพังถล่มจนมีผู้เสียชีวิตกว่า 7,000 ราย เตือนบริเวณ “รอยเลื่อนแม่จัน” ไม่เกิดแผ่นดินไหวมากว่า 500 ปีแล้ว

  • ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 มีมติรับทราบและเห็นชอบ (ร่าง) แผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะพลาสติกระยะที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570)

  • กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมประมง ได้โพสต์โปสเตอร์ ฉลามและกระเบนไทย ผ่านเฟสบุ๊ก ‘กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมประมง’ เป็นโปสเตอร์ชุดใหม่ที่รวมรวมสายพันธุ์ฉลามในทะเลไทยที่สมบูรณ์ที่สุด และเปิดให้สามารถโหลดไฟล์ขนาดใหญ่เก็บไว้

Copyright @2021 – All Right Reserved.