Climate Change

  • เก็บตก “วันนกเงือก” 13 ก.พ. 2563 กิจกรรมที่จัดมูลนิธิศึกษาวิจัยนกเงือก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดขึ้นเป็นปีที่ 21 ณ สวนนกเงือก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพระราม 6 มีสาระสำคัญที่น่าสนใจ 13 ประเด็น ดังนี้

  • โดย –  The Green Mile ถ้าเราหย่อนกบลงในน้ำเดือดทันทีทันใดมันก็จะกระโดดออกมา เพราะสะดุ้งน้ำร้อน แต่ถ้ากบถูกหย่อนลงไปในน้ำอุ่นแล้วนำไปต้มช้าๆ มันจะไม่รับรู้ถึงอันตรายและจะนอนแช่อยู่ในน้ำเดือดจนตาย เรื่องนี้มักใช้เป็นคำอุปมาถึงการไร้ความสามารถหรือไม่เต็มใจของผู้คนที่จะตอบสนองหรือตระหนักถึงภัยคุกคามที่น่ากลัวและเกิดขึ้นอย่างช้าๆ มากกว่าที่จะเกิดขึ้นในทันที

  • ‘ข้าวเหนียว’ เป็นตัวแทนความมั่นคงทางอาหารของพื้นที่ภาคเหนือและอีสาน เพราะเป็นอาหารหลักของคนในพื้นที่ แต่ด้วยบริบทที่ไม่เป็นใจ ทุ่งนาลุ่มน้ำโขงที่ต้องเผชิญภัยธรรมชาติทั้งอุทกภัยและความแห้งแล้ง จึงแทบไม่เคยได้ปริมาณผลผลิตทัดเทียมพื้นที่อื่นซึ่งอุดมสมบูรณ์กว่า

  • เหตุการณ์หิมะตกในกรุงแบกแดดของอิรักเป็นผลพวงจากความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศอย่างรุนแรง ซึ่งถือเป็นปรากฎการณ์นับ 100 ปีที่เกิดหิมะตกจนทำให้เมืองขาวโพลนไปด้วยละอองสีขาว ซึ่งผู้คนต่างออกจากบ้านมาเล่นหิมะกันด้วยความตื่นตาสนุกสนาน

  • ท่ามกลางอากาศหนาวเย็นยะเยือกแห่งป่าทุ่งใหญ่นเรศวร อุณหภูมิลดฮวบต่ำสิบตั้งแต่สิ้นแสงตะวัน เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าขนท่อนฟืนมาก่อไฟไล่หนาวจนเปลวโชติช่วง ทันใดนั้น เจ้าหน้าที่ที่ส่องไฟฉายเล่นๆ ไปตามพุ่มไม้ ก็ร้องขานออกมาว่า “แมว!” ผมเด้งตัวจากเก้าอี้พลาสติก จนเก้าอี้หักกร๊อบ (เก้าอี้ของเจ้าหน้าที่ กรรม!) พอมองตามแสงไฟฉายไป ไม่อยากเชื่อสายตา ที่เห็นนั่นคือ แมวดาว (Leopard Cat)

  • ในประวัติศาสตร์ด้านการแพทย์ เรามีโรคที่เป็นภัยคุกคามร้ายแรงจนถูกบันทึกไว้หลายโรค เช่น ไข้ทรพิษ วัณโรค อหิวาตกโรค ไข้เลือดออก มาลาเรีย SARS MERS อีโบล่า เอดส์…แต่ยังไม่มีโรคใดที่ทำความเสี่ยงให้กับมนุษย์ได้มากเท่ากับไวรัสอู่ฮั่น (Wuhan 2019) ในปัจจุบัน ยุคแรกๆ ที่เรารู้จักกัน คือ โรคไข้ทรพิษ เป็นแล้วตายในอัตราที่สูงถึง 30% แต่ถึงแม้จะยังไม่ตายหากติดโรคก็จะทุกข์ทรมาน คือมีตุ่มฝีทั้งตัว ไทยจึงเรียก ฝีดาษ เรารู้จักวิธีการป้องกัน คือ ใครเป็นฝีดาษ เราก็อยู่ให้ห่างไว้ ก็ไม่ติด …

Copyright @2021 – All Right Reserved.