ANIMAL
-
AnimalArticleEnvironmentNews
ค้นพบครั้งใหญ่ เชื้อราสายพันธุ์ใหม่ เปลี่ยน ‘แมงมุม’ ให้เป็น ‘ซอมบี้’
by Pom Pomby Pom Pomเปิดม่านความลับใหม่ของระบบนิเวศถ้ำในไอร์แลนด์ นักวิจัย ค้นพบ เชื้อราสายพันธุ์ใหม่ เปลี่ยนแมงมุมถ้ำให้กลายเป็นซอมบี้ อพยพสู่ที่โล่งเพื่อแพร่สปอร์ สร้างคำถามใหม่ให้วงการวิทยาศาสตร์ กับผลกระทบระบบนิเวศ ในโลกแห่งธรรมชาติที่เต็มไปด้วยความลึกลับ และความมหัศจรรย์ การค้นพบครั้งล่าสุด จากทีมนักวิทยาศาสตร์ ที่นำโดย ดร. แฮร์รี่ อีแวนส์ อดีตนักวิจัยจาก CAB International ได้เปิดเผยเรื่องราวที่น่าทึ่งเกี่ยวกับเชื้อราสายพันธุ์ใหม่ ที่พบในแมงมุมถ้ำ การวิจัยนี้ เกิดขึ้นระหว่างการถ่ายทำซีรีส์ Winterwatch ของ BBC ในไอร์แลนด์เหนือ โดยความร่วมมือจากนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำ จากพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติแห่งเดนมาร์ก ผลงานนี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร …
-
AnimalArticleClimate Change
‘ฉลาม’ ผู้คุ้มครองสมดุลทะเล กำลังเผชิญหน้ากับการสูญพันธุ์
by Pom Pomby Pom Pomฉลาม กับการกักเก็บคาร์บอน กุญแจสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จาก 500 สายพันธุ์ และในจำนวนนี้ 25% ที่กำลังเผชิญหน้ากับการสูญพันธุ์ “ฉลาม” เป็นหนึ่งในสัตว์ทะเลที่มีชื่อเสียง และน่าเกรงขามมากที่สุดในโลก และที่สำคัญ มีความสำคัญต่อระบบนิเวศทางทะเลและการรักษาสมดุลของสิ่งแวดล้อมทางทะเล พวกมันไม่เพียงแต่เป็นนักล่าชั้นยอดในห่วงโซ่อาหารทะเล แต่ยังมีบทบาทสำคัญในการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ และความยั่งยืนของระบบนิเวศใต้ทะเล แต่ปัจจุบัน ฉลามกำลังตกอยู่ในอันตรายจากการสูญพันธุ์ จากการโจมตีของมนุษย์ ในโลกนี้มีฉลามประมาณ 500 สายพันธุ์ และในจำนวนนี้ 25% กำลังอยู่ในภาวะเสี่ยงสูญพันธุ์ สายพันธุ์ที่ถูกคุกคามมากที่สุด ฉลามขาว (Carcharodon carcharias) …
-
AnimalClimate Change
‘โลกร้อน’ ทำ ยุง ล้นโลก ขยายพันธุ์ไว กัดบ่อย ไข้เลือดออก พุ่ง
by Pom Pomby Pom Pomผลพวงของภาวะโลกร้อน ไม่เพียงทำให้สภาพอากาศเปลี่ยนไป แต่ยังส่งผลต่อสรรพชีวิตบนโลก โดยเฉพาะ “ยุง” มีงานวิจัยหลายชิ้นบอกตรงกันว่า เมื่อโลกร้อนขึ้น ยุงลายจะเติบโตเร็วขึ้นขยายพันธุ์ไว และกัดบ่อยขึ้น ทำไข้เลือดออกระบาด ในยุคที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นประเด็นที่ทั่วโลกให้ความสนใจ “โลกร้อน” อาจดูเหมือนเป็นแค่เรื่องของอุณหภูมิที่สูงขึ้น แต่จริงๆ แล้วมันมีผลกระทบมากมายต่อสิ่งมีชีวิตต่างๆ และหนึ่งในผลกระทบที่อาจไม่คาดคิดคือ การเพิ่มขึ้นของจำนวน “ยุง” ซึ่งถือเป็นปัญหาที่หลายคนอาจมองข้ามไป การศึกษาวิจัยขององค์การอนามัยโลก (WHO) ชี้ว่า การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การตัดไม้ทำลายป่า และการขยายตัวของเมือง เป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้ประชากรยุงเพิ่มขึ้น เบื้องหลังการระบาดของไวรัส เช่น ไข้เลือดออก เชื้อไวรัสซิกา …
-
AnimalNews
‘ปลาหมอคางดำ’ ทำลายระบบนิเวศ ยื่นฟ้องศาลเอาผิดเสียหายหมื่นล้าน
by Chetbakersby ChetbakersBIOTHAI ประเมินมูลค่าความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมจากการระบาดของปลาหมอคางดำเบื้องต้น 1 หมื่นล้านบาท เตรียมยื่นฟ้องเอาผิดกรมประมงและเอกชนผู้นำเข้า
ติด GPS บนกระดอง ‘ลูกเต่าทะเล’ ไขปริศนา ปีที่หายไป
สำเร็จ นักวิทยาศาสตร์ไขปริศนา “ปีที่หายไป” ของ “ลูกเต่าทะเล” หลังฟักไข่แล้วหายไปไหน ด้วยการติด GPS บนกระดอง “ไม่ใช่ว่าเต่าหายไป แต่เราแค่ไม่เคยตามมันทัน” เป็นเวลาหลายทศวรรษ ที่นักวิทยาศาสตร์สงสัยว่าจะเกิดอะไรขึ้นในช่วงหลายปีที่หายไป ระหว่างที่ลูกเต่าทะเลตัวเล็กออกจากชายหาด จนกลับมายังพื้นที่ชายฝั่งเมื่อใกล้โตเต็มวัย ซึ่งก็คือช่วงเวลาประมาณ 1 ถึง 10 ปี นักวิทยาศาสตร์ได้ใช้เครื่องติดตามดาวเทียม เพื่อคลายปมปริศนาเกี่ยวกับ “ปีที่หายไป” ในชีวิตของเต่าทะเลวัยอ่อน ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เคยคลุมเครือมานาน …
“วัคซีนคุมกำเนิดช้างป่า” จะเป็นทางออกที่ยั่งยืน ในการลดความขัดแย้งระหว่าง คนกับช้าง หรือเป็นเพียงการแก้ปัญหาที่ไม่ตรงจุด ขณะที่ จำนวนประชากรช้างป่า เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ “คุ้มครองช้างดีหรือยัง? ถึงเลือกวิธีคุมกำเนิดช้าง เรื่องนี้คงต้องถกกันยาวๆ วัคซีนคุมกำเนิดแก้ปัญหาช้างป่าได้จริงหรือ ในเมื่อช้างพูดไม่ได้ ดังนั้น ผมขอเป็นกระบอกเสียงแทนช้าง” เสียงค้านจาก ชัยวัฒน์ ลิ้มลิขิตอักษร อดีตผู้อำนวยการ สำนักอุทยานฯ พลันที่ “วัคซีนคุมกำเนิดช้างป่า” หนึ่งในมาตรการที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช นำมาใช้อย่างเร่งด่วน ในเดือน ม.ค. 2568 เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างคนกับช้าง …