สึนามิที่เกิดบนเกาะกรีนแลนด์เมื่อปีที่แล้วมาจากยอดเขาขนาดมหึมาถล่ม ทำให้ฟยอร์ดถูกคลื่นกระแทก ระดับน้ำสูง 200 เมตร สาเหตุมาภาวะโลกร้อน
สึนามิที่เกิดบนเกาะกรีนแลนด์เมื่อปีที่แล้วมาจากยอดเขาขนาดมหึมาถล่ม ทำให้ฟยอร์ดถูกคลื่นกระแทก ระดับน้ำสูง 200 เมตร สาเหตุมาภาวะโลกร้อน
พายุดีเปรสชั่นแรงทำให้มีฝนตกหนักถึงหนักมาก โดยเฉพาะภาคอีสานตอยบน ส่งผลมาถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล ช่วง 20-23 ก.ย.นี้
เมืองต่างๆ ทั่วโลกเร่งปรับตัวจากคลื่นความร้อนจะที่ทำให้อุณหภูมิเฉลี่ยเพิ่มสูงถึง 35 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและอื่น เมืองต่างๆ ทั่วโลกกำลังเผชิญกับความร้อนที่สูงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทำให้หลายแห่งต้องหาวิธีแก้ไขและปรับตัวเพื่อลดผลกระทบจากคลื่นความร้อนและอุณหภูมิที่สูงขึ้นอย่างรุนแรง หลายเมืองได้พยายามเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อช่วยลดอุณหภูมิ เช่น การปลูกต้นไม้ สร้างสวนสาธารณะ หรือการจัดสวนบนหลังคา (green roofs) ให้ช่วยดูดซับความร้อนและสร้างร่มเงา ตัวอย่างเช่น เมืองมิลานในอิตาลีได้เริ่มโครงการ “Bosco Verticale” หรือ “ป่าแนวตั้ง” โดยการสร้างอาคารที่มีต้นไม้และพืชปกคลุมทั่วอาคาร ช่วยปรับสภาพอากาศและกรองมลพิษ บางเมืองเลือกที่จะเปลี่ยนวัสดุหรือโครงสร้างในการก่อสร้างถนนและอาคารเพื่อสะท้อนความร้อนและลดการดูดซับความร้อน เช่น ในเมืองลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา ใช้สีสะท้อนแสงบนถนนหรือหลังคาเพื่อช่วยลดอุณหภูมิภายใน …
เหตุการณ์น้ำท่วมเมืองเชียงรายถือเป็นวิกฤตการบริหารจัดการน้ำระดับชาติ เพราะรู้สถานการณ์ล่วงหน้า แต่ไม่มีแผนรองรับ งบประมาณมากแต่รับมือไม่ได้
การหยุดปล่อยคาร์บอนเป็นเรื่องเป็นไปไม่ได้ การคุมอุณหภูมิที่ 1.5 องศา ก็ยากมาก ทางรอดเดียวต้องเร่งปฏิรูประบบอาหาร และกินเนื้อสัตว์ให้น้อยลง