Climate Change

  •   เมื่อโลกก้าวเข้าสู่ปี 2025 กำลังเผชิญกับ “ภาวะโลกปั่นป่วน” ความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และการกระทำของมนุษย์ ที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและเศรษฐกิจทั่วโลก   1 ใน 9 เทรนด์โลกปี 2025 ที่ ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ วิเคราะห์ไว้ บ่งบอกถึงความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อม เพราะภัยพิบัติเพิ่มขึ้น ฝนตกหนัก น้ำท่วมรุนแรง ดินถล่ม แผ่นดินไหว ไฟไหม้ป่า ฝุ่นพิษ pm2.5 สารพันปัญหาสิ่งแวดล้อม ไม่มีแนวโน้วดีขึ้น …

  • อีก 5 ปีอุณภูมิโลกมีแนวโน้มสูงเกิน 1.5 องศา ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น ปะการังฟอกขาว เกิดภัยแล้งรุนแรง และผลผลิตทางการเกษตรลดลง ไทยต้องเร่งรับมือ เมื่อวันที่ 17 ธ.ค. 2567 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) โดยกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (สส.) เปิดงานทิศทางประเทศไทยกับภารกิจด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดำเนินงานใน 6 สาขาความเสี่ยง เพื่อขยายผลการขับเคลื่อนจากส่วนกลางไปสู่ระดับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ​นายจตุพร บุรุษพัฒน์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กล่าวเปิดว่า จากข้อมูล IPCC ระบุว่า …

  • หลัง COP29 ไทยเร่งจัดทำข้อมูลความเสี่ยงน้ำท่วม ภัยแล้ง ดินถล่ม คลื่นความร้อน เดินหน้าซื้อขายคาร์บอนเครดิตยันไม่ให้มีฟอกเขียวภาคอุตสาหกรรม

  • กทม.ไม่หนาวอย่างที่คิดเพราะ “ปรากฎการณ์เกาะความร้อน” ที่ปกคลุมเมืองทั้งเมืองไว้ทำให้อากาศไม่ถ่ายเท อีกทั้งมีตึกสูงจำนวนมาก และทุกตึกติดเครื่องปรับอากาศ คนกรุง ลุ้นกันยกใหญ่ เมื่อกรมอุตุนิยมวิทยาประกาศเข้าสู่ฤดูหนาวอย่างเป็นทางการ ตั้งแต่เดือน พ.ย.เป็นต้นมา แต่ทว่า อากาศที่คน กทม.สัมผัสกลับไม่หนาวอย่างที่คิด ซึ่งปัจจัยที่หนุนให้ กทม. หรือ ในเมืองใหญ่อุณหภูมิไม่ลดต่ำ คาดการณ์กันว่ามาจาก “ปรากฎการณ์เกาะความร้อน” (Urban Heat Island) หรือ “ปรากฏการณ์โดมความร้อนเมือง” ที่พอจะอธิบายง่ายๆ ได้ว่า ทุกพื้นที่ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์เท่าๆ กัน แต่การดูดซับ และสะท้อนของความร้อนจะไม่เท่ากัน …

  • ความหิวล้อมเราไว้หมดแล้ว! ในวันที่โลกกำลังตกอยู่ท่ามกลาง “วิกฤตอาหาร” ซึ่งร้ายแรงอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เนื่องจากประชากรบางกลุ่มไม่มีอาหารสำหรับบริโภคอย่างเพียงพอ ทั้งยังขาดแคลนอาหารปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการ

  • ภายหลังโลกต้องเผชิญกับภัยพิบัติภูมิอากาศอย่างหนักหนาสาหัสมาตลอดทั้งปี 2566 โดยเฉพาะภัยจากคลื่นความร้อนสุดขั้ว ที่ส่งผลให้ปี 2566 ถือเป็นปีที่ร้อนที่สุดนับตั้งแต่มีการบันทึก อย่างไรก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ชี้ว่า สถิตินี้อาจมีอายุไม่ยืดนัก เพราะเราอาจจะต้องเจอกับปีที่ร้อนจัดยิ่งกว่าในปี 2567

Copyright @2021 – All Right Reserved.