Climate Change

  • ฤดูใบไม้ผลิ 2025 ชาวอเมริกันเผชิญอาการภูมิแพ้ ยาวนาน และรุนแรงขึ้น นักวิทยาศาสตร์ ยืนยัน ภาวะโลกร้อน เป็นตัวการสำคัญที่เพิ่มละอองเกสรและมลพิษ เมื่อฤดูใบไม้ผลิมาถึง ชาวอเมริกันนับล้านต้องเผชิญกับอาการภูมิแพ้ตามฤดูกาลที่คุ้นเคย ตั้งแต่จาม น้ำมูกไหล ไปจนถึงตาแดงและไซนัสอักเสบ แต่ในปี 2025 อาการเหล่านี้ดูเหมือนจะรุนแรงกว่าที่เคย นักวิทยาศาสตร์ยืนยันว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะอุณหภูมิที่สูงขึ้นและระดับคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ฤดูภูมิแพ้ยาวนานและรุนแรงขึ้น ภาวะโลกร้อน: ตัวเร่งให้ภูมิแพ้รุนแรง อุณหภูมิที่สูงขึ้นทำให้พืชออกดอกเร็วขึ้นและปล่อยละอองเกสรนานขึ้น ส่งผลให้ฤดูละอองเกสรในบางพื้นที่ของสหรัฐฯ ยาวนานขึ้นหลายสัปดาห์ ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นในชั้นบรรยากาศกระตุ้นให้พืช เช่น ต้นไม้ หญ้า …

  •     สภาพอากาศสุดขั้ว กำลังทำงาน “พายุทราย” ครั้งใหญ่พัดถล่มอิรัก เปลี่ยนท้องฟ้าเป็นสีแดงฉาน ราววันสิ้นโลก สร้างวิกฤตสุขภาพ และหยุดชะงักการคมนาคม   นับตั้งแต่วันที่ 14 เม.ย. 2568 อิรักเผชิญพายุทรายครั้งใหญ่ที่สุดของปี พัดถล่มพื้นที่ตอนกลางและตอนใต้ของประเทศ ส่งผลให้ท้องฟ้ากลายเป็นสีส้ม ทัศนวิสัยลดลงเหลือไม่ถึง 1 กิโลเมตร และประชาชนมากกว่า 1,800 คนต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลจากปัญหาการหายใจ โดยเฉพาะในจังหวัดมูทันนา ซึ่งมีผู้ป่วยฉุกเฉินจากระบบทางเดินหายใจอย่างน้อย 700 ราย ทางการได้สั่งปิดท่าอากาศยานในจังหวัดนาจาฟและบาสราชั่วคราวเพื่อความปลอดภัย   …

  • จุดประกายความหวังใหม่ เมื่อนักวิจัยค้นพบ บทบาทสำคัญในการฟื้นตัวของสาหร่ายทะเล มาจาก “นากทะเล” วีรบุรุษแห่งการต่อสู้กับภาวะโลกร้อนในท้องทะเล สาหร่ายทะเลมีบทบาทสำคัญทั้งในระบบนิเวศและชีวิตมนุษย์ และยังช่วยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ ลดภาวะโลกร้อน และบางชนิดใช้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ เป็นพลังงานทางเลือกที่ยั่งยืน แต่สาหร่ายทะเล กำลังเผชิญภัยคุกคามจากมลพิษ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการขยายตัวของสัตว์กินพืช เช่น เม่นทะเล ที่เพิ่มขึ้น นากทะเล: ผู้ฟื้นฟูป่าสาหร่ายทะเล และความซับซ้อนของระบบนิเวศ แต่เมื่อนากทะเลกลับคืนสู่เกาะต่างๆ ตามแนวชายฝั่งแคลิฟอร์เนียตอนใต้ และบริติชโคลัมเบีย นักวิจัยสังเกตเห็นการฟื้นตัวของป่าสาหร่ายทะเล ซึ่งครั้งหนึ่งเคยถูกทำลายล้างโดยประชากรเม่นทะเล ที่เพิ่มขึ้นอย่างควบคุมไม่ได้ อย่างไรก็ตาม อัตราการฟื้นตัวที่แตกต่างกันระหว่างสถานที่ต่างๆ ได้จุดประกายคำถามในหมู่นักวิทยาศาสตร์ …

  • การพึ่งพาเทคโนโลยีลดคาร์บอนจะเป็นหนึ่งในกุญแจสำคัญในการแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อย่างเช่น การดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากบรรยากาศ

  •       “พายุไซโคลนอัลเฟรด” ถล่มออสเตรเลีย ประกาศเตือนภัยฉุกเฉิน แต่นักพยากรณ์อากาศ พบเส้นทางการเคลื่อนตัวที่ผิดปกติ จนถึงขั้นกังวล เพราะเส้นทางที่ไม่ธรรมดาของ “อัลเฟรด” เป็นสัญญาณของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ       “พายุไซโคลนอัลเฟรด” ถล่มออสเตรเลีย เมื่อวันเสาร์ 8 มีนาคม 2568 ส่งผลให้เกิดน้ำท่วม เส้นทางถูกตัดขาด ไฟฟ้าดับกว่า 250,000 หลัง และมีผู้สูญหายในรัฐนิวเซาธ์เวลส์ ทางการประกาศเตือนภัยฉุกเฉินและอพยพประชาชนกว่า 20,000 คน …

  • ในช่วงปี 2566 โลกมีโอกาสถึง 80% ที่อุณหภูมิจะเกิน 1.5 องศาเซลเซียสในช่วง 5 ปีข้างหน้า เป็นผลจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างต่อเนื่อง

Copyright @2021 – All Right Reserved.