ข่าวดีต้อนรับปี 2568! “เต่ามะเฟือง” สัตว์ป่าสงวนที่เสี่ยงสูญพันธุ์ วางไข่รังแรก 127 ฟอง สร้างความหวังใหม่ให้กับการอนุรักษ์ สัญญาณที่ดีต่อระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง ช่วยรักษาสมดุลและความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2568 สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 6 (สทช.6) ได้รับแจ้งจากชาวบ้านในพื้นที่ ต.เกาะพระทอง อ.คุระบุรี …
Wildlife
‘วันคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ’ อนาคตสัตว์ป่าไทย ความท้าทายที่ต้องเผชิญ
26 ธันวาคม “วันคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ” ทบทวนสถานการณ์สัตว์ป่าในประเทศไทย ที่กำลังเผชิญกับความท้าทายจากการค้าสัตว์ป่า การสูญเสียถิ่นที่อยู่ และความเหลื่อมล้ำในการอนุรักษ์ ในอดีตประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติเป็นอย่างมาก ผืนป่าอันกว้างใหญ่ไพศาลยังไม่ถูกรุกราน จึงชุกชุมไปด้วยสัตว์ป่านานาชนิด ต่อมาเมื่อมีการค้าขายและเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างชาติ สัตว์ป่าจึงเป็นสินค้าส่งออกที่ได้รับความนิยม ทั้งการส่งนอแรด งาช้าง และของป่า ไปขายยังต่างประเทศเป็นจำนวนมาก ชีวิตสัตว์ป่าเริ่มถูกรุกราน ทำให้ลดจำนวนลงอย่างรวดเร็ว จนถึงขั้นที่สัตว์ป่าบางชนิด เช่น สมัน ต้องสูญพันธุ์ไปจากประเทศไทยอย่างน่าเสียดาย …
“เลียงผา” นักสู้แห่งขุนเขา 1 ใน 21 สัตว์ป่าสงวน ของประเทศไทย กับ 3 ปัจจัย แนวโน้ม (ใกล้) สูญพันธุ์ สภาพแวดล้อม บุกรุกป่า ฆ่าเพื่อทำยา การอวดโฉมของ “เลียงผา” สัตว์ที่ขึ้นชื่อว่า เป็นนักปีนหน้าผาผู้เก่งกาจ และพบเจอได้ยาก ปรากฎอยู่บนยอดเขาหินปูนสูงชัน …
ชาวบ้านแก่งกระจาน ยื่นคำร้องให้กรรมการสิทธิมนุษยชนฯ ตรวจสอบการขออนุญาตทำเหมืองแร่โดโลไมต์ของเอกชนในพื้นที่ป่าสงวน เกรงกระทบสิ่งแวดล้อม
การผลักดันให้อุทยานฯ เป็นแหล่งหารายได้มากขึ้น ด้วยการให้ “เอกชน” มาเช่าพื้นที่ไปบริหารเริ่มในปี 2551 และในปี 2558 แต่ก็ถูกหลายองค์กรคัดค้าน
รัฐบาลสวีเดนออกใบอนุญาตประจำปีล่าหมีสีน้ำตาล 486 ใบ วันแรกฆ่ารวดเดียว 152 ตัว คิดเป็นประมาณ 20% ของประชากรหมีสีน้ำตาล นักอนุรักษ์ค้าน เมื่อ 20 กว่าปีก่อน จำนวนหมีสีน้ำตาลในยุโรปมีจำนวนมากถึงประมาณ 50,000 ตัว แต่จำนวนประชากรพวกมันก็ลดลงเรื่อยๆ ครั้งหนึ่งเข้าสู่สถานะใกล้สูญพันธุ์ เพราะการล่าผ่าน “ใบอนุญาต” ที่ถูกต้อง แม้ว่าจะเป็นสัตว์สายพันธุ์ที่ได้รับการคุ้มครองอย่างเข้มงวดในยุโรปก็ตาม …
CPF ใช้มาตรการทางกฎหมายเอาผิดกับกระบวนการตรวจสอบปลาหมอคางดำของเอ็นจีโอ ระบุว่า ภาพและข้อมูลที่นำมาอ้างนั้นเป็นเท็จและมีการบิดเบือน บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร (CPF) เตรียมใช้มาตรการทางกฎหมายกับผู้ที่นำข้อมูลและภาพเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงปลาหมอคางดำของบริษัทเป็นเท็จและบิดเบือนข้อเท็จจริงให้สังคมเข้าใจผิด โดยเฉพาะผู้ที่ใช้ข้อมูลและรูปภาพบนเวทีสาธารณะเมื่อวันที่ 26 ก.ค. ที่ผ่านมา หรือสื่อต่างๆ ควรรับผิดชอบในการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น CPF ระบุว่า ภาพแรกที่นำมาอ้างว่าเป็นบ่อดินของฟาร์มยี่สารนั้น บริษัทขอชี้แจงว่าเป็นการใช้ภาพและข้อมูลเท็จ สถานที่ในรูปภาพไม่ใช่ฟาร์มยี่สาร และหลังจากบริษัทตัดสินใจไม่เริ่มดำเนินโครงการและยุติการวิจัยเมื่อต้นเดือน ม.ค. 2554 …
การรับซื้อปลาหมอคางดำ 2 ล้านกิโลกรัม วงเงิน 30 ล้านบาท เพียงพอต่อการแก้ปัญหาปลาเอเลียนที่ทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาเดือดร้อนหรือไม่ นี่คือคำถาม
ใครต้องรับผิดชอบต่อกรณี “ปลาหมอคางดำ” เอเลียนสัตว์น้ำที่ระบาดใน 13 จังหวัด เนื่องจากทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนผู้นำเข้าต่างบ่ายเบี่ยง
สรุปยอดลงความเห็นการกันพื้นที่อุทยานฯ ทับลาน ให้เป็นที่ ส.ป.ก. 2.65 แสนไร่ มีผู้ไม่เห็นด้วย 901,892 คน เห็นด้วย 45,215 คน