สมุนไพรไทยรุ่ง ปี 66 มูลค่า 8.8 แสนล้าน ‘มะระขี้นกพันธุ์ใหม่’ ดาวเด่น
ปี 2566 มูลค่าธุรกิจสมุนไพรไทยแตะ 8.72 แสนล้าน ที่ได้รับความสนใจมากสุด ได้แก่ ขิงแปรรูป ผักอบกรอบ น้ำนมงาดำ ไข่ผำ และดาวเรืองอบแห้ง
ปี 2566 มูลค่าธุรกิจสมุนไพรไทยแตะ 8.72 แสนล้าน ที่ได้รับความสนใจมากสุด ได้แก่ ขิงแปรรูป ผักอบกรอบ น้ำนมงาดำ ไข่ผำ และดาวเรืองอบแห้ง
สมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย ร่วม MOU ยกระดับภาคเอกชนแก้คอร์รัปชัน ร่วมกับ ป.ป.ท. และสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
การลดความรุนแรงวิกฤตสภาพอากาศไม่ต้องพึ่งความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์มากเสมอไป เพราะวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิผลที่สุดมาจากกลโกธรรมชาติที่มีอยู่
การขยายตัวของเมืองและการเพิ่มขึ้นสร้างแรงกดดันต่อระบบนิเวศมากขึ้น แต่ก็มีแนวโน้มที่ชาวเมืองจะร่วมกันฟื้นฟูสภาพแวดล้อมของเมืองขึ้นมาใหม่
การทำประมงเกินขนาด หรือ “ประมงทำลายล้าง” (overfishing) หนึ่งในสาเหตุทำให้การจับปลาและมูลค่าสัตว์น้ำในอ่าวไทยลดลง แต่ไม่เกี่ยวกับปลาหมอคางดำ
ยูฟ่าประกาศว่า ทัวร์นาเมนต์ยูโร 2024 จะเป็น “การแข่งขันที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่สุดเท่าที่เคยมีมา” ท่ามกลางกองเชียร์เข้าร่วมกว่า 12 ล้านคน
สมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กฯ จับมือเครือข่ายสัมมนาให้ความรู้แนะองค์กรสมาชิกเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืน ป้องกันการฟอกเขียว
“เอสโตเนีย” อันดับหนึ่งประเทศเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2024 เวียดนามติดอันดับท้ายสุด เนื่องจากพึ่งพาพลังงานถ่านหินมากขึ้น ไทยรั้งที่ 90
Nature-based Solution กระบวนการเลียนแบบธรรมชาติ กำลังถูกนำมาใช้รับมือวิกฤตโลก ไม่ว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความหลากหลายทางชีวภาพ และอื่นๆ โลกของเรากำลังเผชิญกับความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อมมากมาย ทั้งความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ปัญหามลพิษ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทั้งหมดเป็นวิกฤตที่เชื่อมโยงกันแบบไร้พรมแดนและส่งผลกระทบลึกซึ้งต่อทุกชีวิตบนโลก ต้นตอของวิกฤตสิ่งแวดล้อมทั้งหมดมาจากรากปัญหาเดียวนั่นคือ การใช้ทรัพยากรแบบล้างผลาญและการทำลายธรรมชาติ ในอดีตเราแก้ปัญหาด้วยการใช้ทรัพยากรเพิ่ม ยิ่งปัญหาสิ่งแวดล้อมรุนแรง เราก็ยิ่งสร้างโครงสร้างต่างๆ มากมายเพื่อกีดกันธรรมชาติออกจากการใช้ชีวิต เช่น เราทำลายแนวกันคลื่นตามธรรมชาติอย่างป่าโกงกาง แทนที่ด้วยเขื่อนคอนกรีตขนาดมหึมาที่ทำลายระบบนิเวศน้ำตื้นไปจนหมด…
การยุติความยากจนและหายนะทางสิ่งแวดล้อม ต้องการแนวคิดใหม่ๆ เพราะตัวเลข GDP ที่เป็นอยู่ช่วยคนรวยแค่ส่วนน้อยให้ร่ำรวยขึ้น แต่คนยากจนยังล้นโลก การแสวงหาการเติบโต (ทางเศรษฐกิจ) อย่างไม่มีที่สิ้นสุดและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่เพิ่มขึ้นตามความต้องการนี้ กำลังผลักดันโลกเข้าสู่ภาวะเกินขีดจำกัด โดยเฉพาะด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งที่ผ่านมาสุขภาพของโลกเราถูกสังเวยไปเพื่อแลกผลประโยชน์ทางวัตถุที่ไม่เป็นธรรมมาอย่างต่อเนื่อง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจะนำความเจริญรุ่งเรืองมาสู่ทุกคน นี่คือมายาคติที่ถูกชี้นำโดยนักการเมือง นักเศรษฐศาสตร์ และแม้แต่องค์กรสิทธิมนุษยชนส่วนใหญ่ – ทว่าในความเป็นจริงมันคือ ภาพลวงตา นั่นเพราะ – ในรายงานของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติในเดือนนี้…