รายงานล่าสุดจาก Oceana เผยตัวเลขชวนสะเทือนใจ คาดการณ์ว่า ภายในปี 2030 ขยะพลาสติกจาก Coca-Cola อาจท่วมมหาสมุทรถึง 603 ล้านกิโลกรัม หรือ 220,000 ล้านขวด ส่งผลร้ายต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพมนุษย์ วันที่ 26 มีนาคม …
Plastic
นวัตกรรมสุดล้ำเปลี่ยน “ป๊อปคอร์น” จากของว่างธรรมดาให้กลายเป็น “ป๊อปคอร์นกันกระแทก” ที่ย่อยสลายได้ ช่วยลดขยะพลาสติกและก๊าซเรือนกระจก พร้อมจุดประกายอนาคตยั่งยืนจากทรัพยากรธรรมชาติรอบตัวเรา ในยุคที่โลกเผชิญกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและขยะพลาสติกล้นเมือง วัสดุกันกระแทกอย่างโฟมโพลีสไตรีน (Styrofoam) ซึ่งนิยมใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ กลายเป็นหนึ่งในตัวการสำคัญที่เพิ่มปริมาณขยะและก๊าซเรือนกระจก ด้วยเหตุนี้ นักวิจัยและนักนวัตกรรมทั่วโลก จึงมองหาทางเลือกที่ยั่งยืนกว่า และหนึ่งในนวัตกรรมที่น่าสนใจคือ “ป๊อปคอร์นกันกระแทก” ซึ่งไม่เพียงช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แต่ยังเป็นตัวอย่างของการนำวัสดุธรรมชาติมาใช้อย่างชาญฉลาด ป๊อปคอร์น: จากของว่างสู่โซลูชันรักษ์โลก ป๊อปคอร์นที่เราคุ้นเคยในฐานะของว่างยามดูหนังนั้น …
ศูนย์สิ่งแวดล้อมและการจัดการที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยพะเยา ปฏิวัติขยะ เปลี่ยน “ฝาขวดพลาสติก” เป็น “ไม้แขวนเสื้อ” 85 ฝา ต่อ 1 ไม้แขวน ลดขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม ศูนย์สิ่งแวดล้อมและการจัดการที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยพะเยา (CESM) ได้ริเริ่มโครงการที่น่าสนใจเพื่อสนับสนุนนโยบาย …
‘น้ำฝน’ ดื่มไม่ได้อีกต่อไป เมื่อเจอ ‘ไมโครพลาสติก’ ปนเปื้อน
“น้ำฝน” ที่เคยบริสุทธิ์ในอดีต วันนี้กลับปนเปื้อน “ไมโครพลาสติก” และ “สารเคมีอันตราย” จนไม่ปลอดภัยสำหรับการบริโภค การค้นพบนี้สะท้อนถึงมลพิษที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งคุกคามทั้งสุขภาพและสิ่งแวดล้อมทั่วโลกอย่างเงียบงัน ในอดีต “น้ำฝน” ถูกมองว่าเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติที่บริสุทธิ์ ผู้คนในหลายพื้นที่ทั่วโลก โดยเฉพาะในชนบท หรือพื้นที่ห่างไกล มักเก็บน้ำฝนมาใช้ดื่มกินและใช้ในชีวิตประจำวัน เพราะเชื่อว่าเป็นน้ำที่สะอาด แต่ในยุคปัจจุบัน ความเชื่อนี้กำลังถูกตั้งคำถาม เมื่อการวิจัยทั่วโลกเริ่มเผยให้เห็นว่า น้ำฝนที่ตกลงมาจากฟากฟ้า ไม่ได้บริสุทธิ์อย่างที่คิด …
วันที่ 18 มีนาคมของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็น “วันรีไซเคิลโลก” (Global Recycling Day) ซึ่งเป็นวันที่ทั่วโลกให้ความสำคัญกับการรีไซเคิล เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในยุคปัจจุบันที่มนุษบริโภคทรัพยากรอย่างมหาศาล ปัญหา ขยะล้นโลก ได้กลายเป็นวิกฤตที่ทวีความรุนแรงขึ้นทุกวัน ขยะพลาสติก กระดาษ บรรจุภัณฑ์อาหาร และของเสียจากชีวิตประจำวัน ถูกทิ้งเกลื่อนกลาด ทั้งบนบกและในทะเล สร้างมลพิษให้กับสิ่งแวดล้อมและคุกคามชีวิตของทั้งมนุษย์และสัตว์ป่า …
มีการคาดการณ์กันว่าภายในปี 2050 จะมีพลาสติกในมหาสมุทรมากกว่าปลาเสียอีก โดยเฉพาะพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งที่ผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิล
ขยะพลาสติกทั่วโลกถูกนำเข้าสู่การรีไซเคิลเพียง 9% ของทั้งหมด ที่เหลืออีก 91% ถูกนำเข้าสู่กระบวนการฝังกลบ เผาทำลาย หรือเล็ดลอดออกสู่สิ่งแวดล้อม
พลาสติก 7 ชนิดที่นำไปรีไซเคิลได้จะต้องสะอาด ไม่ปนเปื้อนเศษอาหาร สารเคมีหรือวัตถุอันตรายและต้องไม่ตากแดดเป็นเวลานาน
ปัจจุบันมีขยะพลาสติกสะสมอยู่ในมหาสมุทรกว่า 75-199 ล้านตัน คาดว่าภายในปี 2583 ตัวเลขนี้อาจเพิ่มขึ้นเกือบสามเท่าเป็น 23-37 ล้านตันต่อปี
ไอเดียสุดล้ำ “วัดถ้ำกระบอก” คิดค้นวิธีแปรรูป “ขยะพลาสติก” เป็นน้ำมันเชื้อเพลิง ด้วยกระบวนการไพโรไลซิส ผลิตน้ำมันได้กว่า 10,000 ลิตร ช่วยทั้งวัด ผู้ป่วยติดยาเสพติด และสิ่งแวดล้อม แถมลดภาระค่าใช้จ่ายได้ถึง 50,000 บาทต่อเดือน “วัดถ้ำกระบอก” เป็นศูนย์บำบัดผู้ติดยาเสพติด ที่รองรับผู้เข้ารับการบำบัดจำนวนมาก ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายของวัดเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะค่าน้ำมัน ที่ใช้สำหรับรถขนส่ง และเครื่องจักร …