กรมโลกร้อนผนึกเอกชน ดีเดย์’วันปลอดถุงพลาสติกสากล’ เร่งสู่ Net Zero
กรมโลกร้อนผนึกกำลังภาคเอกชน ดีเดย์ 3 ก.ค. “วันปลอดถุงพลาสติกสากล” ยกระดับการดำเนินงานสู่เป้าหมาย Net Zero
กรมโลกร้อนผนึกกำลังภาคเอกชน ดีเดย์ 3 ก.ค. “วันปลอดถุงพลาสติกสากล” ยกระดับการดำเนินงานสู่เป้าหมาย Net Zero
‘พัชรวาท’ ปลุกคนไทย “วันสิ่งแวดล้อมโลก” ให้ร่วมกันแสดงพลัง “พลิกฟื้นผืนดิน สู้วิกฤตภัยแล้ง” เพื่อส่งต่อความอุดมสมบูรณ์ให้ลูกหลานในอนาคต
ประเทศไทยปล่อยก๊าซเรือนกระจกอยู่อันดับที่ 21 ของโลก โดยในปี 2019 ไทยปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 354 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า และคาดว่าจะปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุดเท่ากับ 368 ล้านต้นคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ภายในปี 2025 เพื่อเข้าสู่เป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปี 2050 และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emissions) ภายในปี 2065 ตามที่รัฐบาลไทยได้ประกาศไว้
“สิงคโปร์แอร์ไลน์” ตกหลุมอากาศรุนแรงจนทำให้เครื่องบินดิ่งลงจากระดับความสูง 54 เมตร ในเวลา 4 วินาที หรือเทียบเท่าตึกสูง 18 ชั้น มีสาเหตุกมาจาก “ความร้อน” ที่มาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกหรืออุณหภูมิที่สูงขึ้นเหนือมแอ่งอิระวดีของเมียนมา
โรงเรียนวนิษาตั้งอยู่สุขุมวิท 26 ใจกลางกรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนในเมือง แต่มีพื้นที่สีเขียวค่อนข้างเยอะ ทั้งที่ปากซอยคือห้างเอ็มโพเรียมและเอมควอเทียร์ เด็กนักเรียนที่นี่มีอาหารแพลนต์ เบส กิน แต่ไม่ได้บังคับรับประทานทั้งโรงเรียน เพราะเสิร์ฟอาหารหลากหลาย แค่ให้กินแพลนต์ เบส สัปดาห์ละ 1 วัน และเป็นการเสิร์ฟโดยไม่ได้บอกว่าคืออะไร
เกษตรกรรมฟื้นฟูมีมานานมากแล้วเพราะเป็นเกษตรตามธรรมชาติซึ่งตรงกันข้ามกับระบบเกษตรในปัจจุบันที่พึ่งพาสารเคมี หรือเป็นเกษตรอุตสาหกรรมที่มุ่งเน้นปริมาณมากกว่าความปลอดภัยของทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค
ปี2566 ประเทศไทยมีขยะมูลฝอยเกิดขึ้น 26.95 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2565 ราว 1.25 ล้านตัน พบเป็นสัดส่วนของขยะอาหารมากถึงร้อยละ 39 คิดเป็นปริมาณ 9.68 ล้านตันต่อปี หรือเทียบเท่าประชากร 1 คน ผลิตขยะอาหาร 146 กิโลกรัมต่อคนต่อปี
“ลานีญา” มาแน่ วันแม่เดือน ส.ค. นี้ โดยจะลากยาวไป 6 เดือน โดยช่วง ก.ย.-ต.ค. จะเกิดฝนตกหนักและน้ำท่วมภาคกลาง อีสาน ตะวันออก คล้ายกับเหตุการณ์นำท่วมในปี 2565 ที่พื้นที่เกษตรได้รับผลกระทบ 3 ล้านไร่ เกษตรกรเดือดร้อนประมาณ 10 ล้านคน มูลค่าความเสียหายรวม…
หลายทศวรรษที่ผ่านมาพบว่า ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศได้ส่งผลให้ภัยแล้งทวีความรุนแรงมากขึ้น ขยายขอบเขตความเสียหายกว้างมากขึ้น และยิ่งสภาพอากาศมีความแปรปรวนสูง ประกอบกับปรากฏการณ์เอลนีโญยิ่งทำให้บางภูมิภาคของโลกเกิดความแห้งแล้ง โดยเฉพาะประเทศไทยที่อยู่ในเสี่ยงเผชิญอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าระดับปกติ และอาจเกิดสภาพอากาศแปรปรวนในบางพื้นที่ เช่น บริเวณที่เคยมีฝนตกชุกอาจต้องเผชิญกับความแห้งแล้งฉับพลัน หรือในพื้นที่ที่ขาดแคลนน้ำฝนอาจเผชิญกับพายุฝนรุนแรง เป็นต้น (1)
นักวิทยาศาสตร์ฟันธงว่า ความปั่นป่วนของสภาพอากาศเลวร้ายบนท้องฟ้าที่ทำให้สายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ “ตกหลุมอากาศ” อย่างรุนแรง และต้องลงจอดฉุกเฉินที่สนามบินสุวรรณภูมิ ไม่ได้มาจากสภาพอากาศแปรปรวนธรรมดา แต่เป็นผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ Climate Change เนื่องจากผลการศึกษาพบว่า ที่ผ่านมาท้องฟ้ามีความสั่นสะเทือนมากขึ้นถึง 55% เมื่อเทียบกับ 4 ทศวรรษก่อน เนื่องจากภาวะโลกร้อนที่รุนแรงขึ้น เที่ยวบิน SQ321 สายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์มุ่งหน้าจากท่าอากาศยานฮีทโธรว์ในอังกฤษปลายทางสู่ท่าอากาศยานชางงีของสิงคโปร์ ต้องเผชิญหน้ากับพายุลูกใหญ่บนท้องฟ้า โดยเจ้าหน้าที่สายการบินรายหนึ่ง…