ที่ประชุมสภากรุงเทพมหานคร (กทม.) สมัยประชุมสามัญ สมัยที่ 1 ประจำปี 2566 เมื่อวันที่ 5 ก.ค. 2566 มีมติมติรับหลักการวาระ 1 ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องกำหนดลักษณะของอาคารและพื้นที่ว่างนอกอาคารเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือ ร่างข้อบัญญัติพื้นที่สีเขียว
Urban
รถรางสวนเคลื่อนที่ ไอเดียของสภาท้องถิ่นเมืองแอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยี่ยม ที่ต้องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับเมือง ส่งเสริมสุขภาพ และกระตุ้นให้ประชากรมีส่วนร่วมในการทำสวนเพื่อเปลี่ยนเมืองแห่งนี้ให้กลายเป็นสถานที่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
‘ชัชชาติ’ รื้อผังเมืองกรุงเทพฯ
เน้นทิศทางการพัฒนา
มากกว่าปั่นราคาที่ดิน
ผุดไอเดียสร้างเมืองใหม่รอบนอก
“ชัชชาติ” เสนอไอเดียนำที่ดินว่างพื้นที่รอบนอกกรุงเทพฯ เช่น ลาดกระบัง ร่มเกล้า หรือบางขุนเทียนมาใช้สร้างเมืองใหม่ที่มีบริการสาสาธารณะครบเพื่อลดความแออัด แนะแก้ผังเมืองโดยยึดทิศทางการพัฒนาเมืองมากกว่าการสร้างในสิ่งที่ได้ค่าตอบแทนสูงสุด
นี่คือฟาร์มขนาด 7 เอเคอร์ในเมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ทุกคนสามารถเข้าไปเก็บผักและผลไม้กินได้ มันไม่ใช่ฟาร์มเท่ๆ สำหรับคนเมือง แต่เป็นโปรเจกต์ที่ริเริ่มขึ้นมาเพื่อต่อสู้กับความหิวโหยและแก้ปัญหาความไม่มั่นคงด้านอาหาร
รอดูรูปธรรมผลงานสิ้นปีนี้
กทม.ผนึกกำลังหลายหน่วยงาน
ตัดทิ้งสายสื่อสาร 800 กม. ใน 16 เขต
การแก้ปัญหาสายสื่อสารระโยงระยางรกหูรกตาตามเสาไฟฟ้าในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (กทม.) เพื่อเตรียมเอาลงดินเริ่มมีความชัดเจนมากขึ้นเป็นลำดับ ล่าสุดรัฐมนตรีกระทรวงดิจิทัลฯ รับเป็นเจ้าภาพคนกลางประสานกับทุกหน่วยงานตั้งคณะทำงานเพื่อร่วมแก้ปัญหานี้ร่วมกับ กทม.
ตอนที่แล้วผมได้พาท่านไปทัวร์ป่ากลางกรุงโตเกียว (Tokyo Nature Study) พื้นที่ระบบนิเวศทางธรรมชาติกลางเมืองแห่งนี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติและวิทยาศาสตร์ ซึ่งฐานที่มั่นหลัก ตั้งอยู่ในสวนอุเอโนะ (Ueno Park)
สามสี่ปีก่อนที่งานสัมมนางานหนึ่ง ผู้ใหญ่ท่านหนึ่งเล่าให้ฟังว่าเขาเพิ่งไปโตเกียวมา และได้ไปที่แห่งหนึ่ง ดีมากเลย เป็นป่าใจกลางโตเกียว แต่คนไม่ค่อยรู้จัก
การฟื้นผืนดินบ้านเกิดไร้ชีวิต กลับคืนเป็นป่าดิบชื้น ในเวลาสิบกว่าปีของคู่สามีภรรยาช่างภาพชื่อดังของโลก Sebastiao และ Lelia Salgado