Climate Change

‘สภาพอากาศสุดขั้ว’ ทำหน้าร้อนไทย 2025 อาจเจอร้อนสุดขีด

ทำความรู้จัก “สภาพอากาศสุดขั้ว” หรือ Extreme Weather หนาวสุดขั้ว ร้อนสุดขีด ภัยคุกคามใหม่ในยุคโลกร้อน นักวิชาการ ระบุ หน้าร้อน ปี 2025 ประเทศไทย อาจร้อนสุดขีดได้ ในยุคที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กลายเป็นเรื่องที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ “สภาพอากาศสุดขั้ว” (Extreme Weather) ได้กลายเป็นคำที่เราต้องทำความรู้จัก และเข้าใจอย่างลึกซึ้งมากขึ้น…

Read more

รู้จัก ‘Polar Vortex’ 1 ในปัจจัยทำไทย หนาวแรง-หนาวนาน

สมศักดิ์ศรี “ฤดูหนาว” เผย 3 ปัจจัยหลัก ทำประเทศไทย หนาวแรง และหนาวนาน จากปรากฎการณ์ลานีญา, กระแสลมวนขั้วโลก  Polar Vortex และมวลอากาศเย็นจากจีน ในช่วงเดือนมกราคม 2568 หลายพื้นที่ในประเทศไทย และภูมิภาคอื่นๆ ทั่วโลก กำลังเผชิญกับสภาพอากาศหนาวเย็นอย่างมาก โดยเฉพาะในประเทศไทย เรียกได้ว่าได้สัมผัสกับอากาศหนาวอย่างจริงจัง ซึ่งไม่เคยปรากฎมาก่อนในรอบหลายสิบปี…

Read more

ปี 2024 อุณหภูมิเกิน 1.5°C ครั้งแรก ปีนี้อากาศร้อนต่อเนื่องเป็นปีที่สาม

ปี 2024 จะเป็นปีที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยมีความเป็นไปได้สูงที่อุณหภูมิเฉลี่ยจะสูงกว่าระดับก่อนยุคอุตสาหกรรมถึง 1.5°C เป็นครั้งแรก

Read more

‘ภาวะโลกปั่นป่วน’ เทรนด์โลก 2025 ความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อม

  เมื่อโลกก้าวเข้าสู่ปี 2025 กำลังเผชิญกับ “ภาวะโลกปั่นป่วน” ความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และการกระทำของมนุษย์ ที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและเศรษฐกิจทั่วโลก   1 ใน 9 เทรนด์โลกปี 2025 ที่ ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ วิเคราะห์ไว้ บ่งบอกถึงความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อม เพราะภัยพิบัติเพิ่มขึ้น ฝนตกหนัก…

Read more

5 ปีอุณภูมิโลกส่อทะลุ 1.5 องศา ไทยเร่งรับมือ 6 สาขาเสี่ยงระดับพื้นที่

อีก 5 ปีอุณภูมิโลกมีแนวโน้มสูงเกิน 1.5 องศา ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น ปะการังฟอกขาว เกิดภัยแล้งรุนแรง และผลผลิตทางการเกษตรลดลง ไทยต้องเร่งรับมือ เมื่อวันที่ 17 ธ.ค. 2567 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) โดยกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (สส.) เปิดงานทิศทางประเทศไทยกับภารกิจด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดำเนินงานใน 6 สาขาความเสี่ยง…

Read more

ออสเตรเลีย หนุน ไทย จัดการ ‘ลุ่มน้ำโขง’ รับมือ ‘Climate Change’

“ออสเตรเลีย” หนุน “ประเทศไทย” พร้อมอัดงบกว่า 4,000 ล้านบาท ขับเคลื่อนความร่วมมือในกรอบอนุภูมิภาค “ลุ่มน้ำโขง” รับมือ “Climate change” การเดินทางเยือนประเทศออสเตรเลีย ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ “มาริษ เสงี่ยมพงษ์” ตามคำเชิญของ “เพนนี หว่อง” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศออสเตรเลีย เพื่อกระชับความสัมพันธ์และความร่วมมือในรอบด้าน เรียกได้ว่าประสบความสำเร็จพอสมควร เพราะการพบปะพูดคุยกันในครั้งนี้…

Read more

เร่งทำข้อมูลภัยโลกเดือด ลุยคาร์บอนเครดิต ไม่ฟอกเขียวอุตสาหกรรม?

หลัง COP29 ไทยเร่งจัดทำข้อมูลความเสี่ยงน้ำท่วม ภัยแล้ง ดินถล่ม คลื่นความร้อน เดินหน้าซื้อขายคาร์บอนเครดิตยันไม่ให้มีฟอกเขียวภาคอุตสาหกรรม

Read more

‘ปรากฎการณ์เกาะความร้อน’ ทำให้ กทม.ไม่หนาวอย่างที่คิด?

กทม.ไม่หนาวอย่างที่คิดเพราะ “ปรากฎการณ์เกาะความร้อน” ที่ปกคลุมเมืองทั้งเมืองไว้ทำให้อากาศไม่ถ่ายเท อีกทั้งมีตึกสูงจำนวนมาก และทุกตึกติดเครื่องปรับอากาศ คนกรุง ลุ้นกันยกใหญ่ เมื่อกรมอุตุนิยมวิทยาประกาศเข้าสู่ฤดูหนาวอย่างเป็นทางการ ตั้งแต่เดือน พ.ย.เป็นต้นมา แต่ทว่า อากาศที่คน กทม.สัมผัสกลับไม่หนาวอย่างที่คิด ซึ่งปัจจัยที่หนุนให้ กทม. หรือ ในเมืองใหญ่อุณหภูมิไม่ลดต่ำ คาดการณ์กันว่ามาจาก “ปรากฎการณ์เกาะความร้อน” (Urban Heat Island)…

Read more

ชายหาดหาย กำแพงกันคลื่นพัง เกาผิดที่คัน หรือโลกร้อนรุนแรงกว่าเดิม

ภาพกำเเพงกันคลื่นตามแนวชายฝั่งของประเทศในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝั่งอันดามันตลอดช่วง 10 กว่าปีที่ผ่านมา สะท้อนเป็นที่ประจักษ์ถึงปรากฎการณ์แพร่ระบาดของกำเเพงกันคลื่นอย่างรุนเเรง จนกลายเป็นที่มาของคำถามว่า การใช้โครงสร้างดังกล่าวสามารถป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือภาวะโลกร้อนได้จริงหรือไม่ หรือแท้จริงแล้วปัญหานี้สามารถหาแนวทางอื่นรับมือสถานการณ์พังทลายของชายหาดที่กำลังเกิดขึ้นได้ดีกว่า โดยไม่จำเป็นต้องพึ่งพา “กำเเพงกันคลื่น”

Read more

ความหวังจาก ‘คาร์บอนเครดิต’หนึ่งในอาวุธ สู้วิกฤตโลกรวน

ในวันที่โลกกำลังต่อสู้กับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากขึ้นเรื่อย ๆ เห็นได้ชัดเจนจากการเกิดภัยแล้ง การขาดแคลนน้ำ ไฟป่ารุนแรง ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น น้ำท่วม น้ำแข็งขั้วโลกละลาย วาตภัยขนาดใหญ่ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ และอื่น ๆ

Read more