“วันป่าชุมชนชายเลนไทย” 12 เมษายน ร่วมปกป้องและฟื้นฟูป่าชายเลน สมบัติล้ำค่าที่หล่อเลี้ยงชีวิต และปกป้องแผ่นดิน ร่วมกันสานต่อความยั่งยืนให้ป่าชายเลนคงอยู่เพื่ออนาคต วันที่ 12 เมษายนของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็น “วันป่าชุมชนชายเลนไทย” เพื่อรณรงค์ให้ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของป่าชายเลน ซึ่งเป็นหนึ่งในทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่ามหาศาลของประเทศไทย ป่าชายเลนไม่เพียงเป็นแหล่งทรัพยากรที่หล่อเลี้ยงวิถีชีวิตของชุมชนชายฝั่ง แต่ยังเป็นกำแพงธรรมชาติที่ปกป้องแผ่นดินจากภัยพิบัติ และเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ป่าชายเลน: สมบัติล้ำค่าของชายฝั่งไทย ป่าชายเลนคือพื้นที่ป่าไม้ที่เติบโตในบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นดินและทะเล พบได้ตามชายฝั่งและปากแม่น้ำทั่วประเทศไทย ต้นไม้ในป่าชายเลน …
Forest
“ป่าแอมะซอน” สะเทือน เมื่อบราซิลตัดป่า สร้างทางหลวง 4 เลนใหม่ ก่อนประชุมสภาพภูมิอากาศ COP30 หลายคนตั้งคำถาม การตัดไม้ทําลายป่า ขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ของการประชุมสุดยอดทางสภาพภูมิอากาศหรือไม่ ในช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา สำนักข่าว BBC ได้เผยแพร่รายงานที่สร้างความตื่นตัวในวงกว้าง โดยระบุว่า ทางหลวงสี่เลนสายใหม่ กำลังถูกก่อสร้างตัดผ่านป่าแอมะซอน ซึ่งเป็นพื้นที่คุ้มครองทางธรรมชาติที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศโลก ถนนเส้นนี้มีชื่อว่า “Avenida Liberdade” …
“วันช้างไทย” 13 มีนาคม วันแห่งความภาคภูมิใจในสัตว์ประจำชาติที่เคยยิ่งใหญ่ในอดีต แต่ปัจจุบันช้างป่าและช้างเลี้ยง เหลือเพียงไม่กี่พันตัว ท่ามกลางวิกฤตต่างๆ มาร่วมเรียนรู้และหาทางรักษาช้างไทยให้คงอยู่กับเราตลอดไป วันที่ 13 มีนาคมของทุกปี ถือเป็น “วันช้างไทย” ซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้คนไทยตระหนักถึงความสำคัญของช้าง สัตว์ประจำชาติที่มีบทบาทสำคัญ ทั้งในด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และระบบนิเวศของประเทศไทย …
หลายเมืองให้ความสำคัญกับการปลูกป่าหรือเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อรับมือโลกร้อนที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งวิธีการของแต่ละเมืองล้วนมีความน่าสนใจ
ทำความรู้จักกับ “กฎหมาย EUDR” ควบคุมค้า “สินค้าปลอดการตัดไม้ทำลายป่า” ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไทย โอกาสหรืออุปสรรคในอนาคต ไทยพร้อมแค่ไหน ในยุคที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กลายเป็นประเด็นสำคัญระดับโลก ทำให้เมื่อ 29 มิถุนายน 2566 สหภาพยุโรป หรือ อียู ได้ประกาศให้ “สินค้าปลอดการตัดไม้ทำลายป่า” EU Deforestation Regulation: …
สวีเดน พัฒนาอุตสาหกรรมไม้อย่างครบวงจรจนเป็นผู้ส่งออกไม้และเยื่อกระดาษติด 5 อันดับแรกของโลก และยังรักษาพื้นที่ป่าในประเทศได้กว่า 70%
“วัคซีนคุมกำเนิดช้างป่า” จะเป็นทางออกที่ยั่งยืน ในการลดความขัดแย้งระหว่าง คนกับช้าง หรือเป็นเพียงการแก้ปัญหาที่ไม่ตรงจุด ขณะที่ จำนวนประชากรช้างป่า เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ “คุ้มครองช้างดีหรือยัง? ถึงเลือกวิธีคุมกำเนิดช้าง เรื่องนี้คงต้องถกกันยาวๆ วัคซีนคุมกำเนิดแก้ปัญหาช้างป่าได้จริงหรือ ในเมื่อช้างพูดไม่ได้ ดังนั้น ผมขอเป็นกระบอกเสียงแทนช้าง” เสียงค้านจาก ชัยวัฒน์ ลิ้มลิขิตอักษร อดีตผู้อำนวยการ สำนักอุทยานฯ พลันที่ “วัคซีนคุมกำเนิดช้างป่า” …
วันที่ 14 มกราคมของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็น “วันอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แห่งชาติ” เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้กับประชาชนเกี่ยวกับความสำคัญของป่าไม้ และผลกระทบจากการตัดไม้ทำลายป่า โดยเฉพาะในประเทศไทย ที่มีทรัพยากรป่าไม้ลดลงอย่างต่อเนื่อง อัตราการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ เฉลี่ย 10 สนามฟุตบอล/ชั่วโมง การกำหนด “วันอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แห่งชาติ” เริ่มต้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2532 เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ลงพระปรมาภิไธยในพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ …
“เลียงผา” นักสู้แห่งขุนเขา 1 ใน 21 สัตว์ป่าสงวน ของประเทศไทย กับ 3 ปัจจัย แนวโน้ม (ใกล้) สูญพันธุ์ สภาพแวดล้อม บุกรุกป่า ฆ่าเพื่อทำยา การอวดโฉมของ “เลียงผา” สัตว์ที่ขึ้นชื่อว่า เป็นนักปีนหน้าผาผู้เก่งกาจ และพบเจอได้ยาก ปรากฎอยู่บนยอดเขาหินปูนสูงชัน …
แหล่งผลิตออกซิเจนของโลก ป่าฝนแอมะซอนถูกขนานนามว่าเป็น “ปอดของโลก” เพราะผลิตออกซิเจนมากกว่า 20 % ของทั้งโลก ทั้งยังช่วยกำจัดคาร์บอนจำนวนมหาศาลออกจากชั้นบรรยากาศซึ่งสามารถช่วยชะลอภาวะโลกร้อนให้มนุษย์เราได้ Fernando Espírito-Santo นักวิจัย Jet Propulsion Lab ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐ (นาซ่า) ค้นพบว่า ต้นไม้ในแอมะซอนสามารถดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากกว่า 2,200 ล้านตัน/ปี แต่เหตุการณ์การลุกลามของไฟป่าครั้งนี้กำลังจะเปลี่ยนสถานะแอมะซอน จากแหล่งกักเก็บคาร์บอนเป็นแหล่งปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์แทน …