Editor’s Pick

‘พะยูน’ ท้องทะเลไทย วิกฤต 48 ตัว ตายในปีเดียว

วิกฤตหนัก “พะยูน” ในท้องทะเลไทย 48 ตัว ตายในปีเดียว “หญ้าทะเล” แหล่งอาหารหลัก หาย ระบบนิเวศพัง สัญญาณสำคัญต่อมนุษย์ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา “พะยูน” ในท้องทะเลไทย ได้เผชิญกับความท้าทายที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของพวกมันอย่างมาก พะยูน หรือที่เรียกว่า “หมูน้ำ” ถือเป็นสัตว์ป่าสงวน ลำดับที่ 15 ของไทย…

Read more

ต้นแบบของลูกคือพ่อแม่ ธรรมชาติจะดีอยู่ที่การปลูกฝัง

โรงเรียนวนิษาตั้งอยู่สุขุมวิท 26 ใจกลางกรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนในเมือง แต่มีพื้นที่สีเขียวค่อนข้างเยอะ ทั้งที่ปากซอยคือห้างเอ็มโพเรียมและเอมควอเทียร์ เด็กนักเรียนที่นี่มีอาหารแพลนต์ เบส กิน แต่ไม่ได้บังคับรับประทานทั้งโรงเรียน เพราะเสิร์ฟอาหารหลากหลาย แค่ให้กินแพลนต์ เบส สัปดาห์ละ 1 วัน และเป็นการเสิร์ฟโดยไม่ได้บอกว่าคืออะไร

Read more

บทเรียนดับไฟป่ามูลนิธิกระจกเงา ‘ไฟ’ เกิดจาก ‘คน’ รัฐต้องเท่าทันเทคโนโลยี

ปัญหาไฟป่าในจังหวัดภาคเหนือตอนบนเรื้อรังมานานกว่า 10 ปี แม้ภาครัฐจะออกมาตรการมาแก้ไขอย่างต่อเนื่อง แต่ก็ยังไม่ตรงจุด มูลนิธิกระจกเงาเป็นหนึ่งในองค์กรพัฒนาเอกชนที่ตั้งทีมอาสาสมัครไปช่วยดับไฟป่าในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และเชียงใหม่

Read more

ท้องฟ้าป่วนหนัก ‘ตกหลุมอากาศ’ จนปกติ รู้ไว้! เหตุจาก Climate Change

นักวิทยาศาสตร์ฟันธงว่า ความปั่นป่วนของสภาพอากาศเลวร้ายบนท้องฟ้าที่ทำให้สายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ “ตกหลุมอากาศ” อย่างรุนแรง และต้องลงจอดฉุกเฉินที่สนามบินสุวรรณภูมิ ไม่ได้มาจากสภาพอากาศแปรปรวนธรรมดา แต่เป็นผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ Climate Change เนื่องจากผลการศึกษาพบว่า ที่ผ่านมาท้องฟ้ามีความสั่นสะเทือนมากขึ้นถึง 55% เมื่อเทียบกับ 4 ทศวรรษก่อน เนื่องจากภาวะโลกร้อนที่รุนแรงขึ้น เที่ยวบิน SQ321 สายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์มุ่งหน้าจากท่าอากาศยานฮีทโธรว์ในอังกฤษปลายทางสู่ท่าอากาศยานชางงีของสิงคโปร์ ต้องเผชิญหน้ากับพายุลูกใหญ่บนท้องฟ้า โดยเจ้าหน้าที่สายการบินรายหนึ่ง…

Read more

ความหวังจาก ‘คาร์บอนเครดิต’หนึ่งในอาวุธ สู้วิกฤตโลกรวน

ในวันที่โลกกำลังต่อสู้กับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากขึ้นเรื่อย ๆ เห็นได้ชัดเจนจากการเกิดภัยแล้ง การขาดแคลนน้ำ ไฟป่ารุนแรง ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น น้ำท่วม น้ำแข็งขั้วโลกละลาย วาตภัยขนาดใหญ่ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ และอื่น ๆ

Read more

ประเทศไทยเอาไงดี? ส่องความคืบหน้าแผนรับมือโลกร้อน

จากสถานการณ์โลกปัจจุบันที่ประเทศทั่วโลกต่างต้องประสบกับนานาวิกฤตรายล้อมที่ต้องจัดการ แต่ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยังถือเป็นความท้าทายใหญ่ที่สุดที่ประชาคมโลกต้องร่วมกันรับมือแก้ไข โดยมีภารกิจสำคัญร่วมกันในการเร่งดำเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างเร่งด่วน เพื่อที่จะควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกให้เป็นไปตามเป้าหมายหมายความตกลงปารีสไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส

Read more

ผลกระทบอากาศสุดขั้ว ภัยคุกคาม ‘สุขภาพมนุษยชาติ’ ครั้งใหญ่ที่สุด

สภาวะโลกร้อนไม่เพียงทำให้ผู้คนทั่วทุกมุมโลกต้องเผชิญความเสียหายจากความแปรปรวนของภูมิอากาศและภัยธรรมชาติที่รุนแรงอย่างไม่เคยปรากฎมาก่อน แต่ยังส่งผลให้เกิดความเสี่ยงจากความเจ็บป่วย และโรคระบาดใหม่ ๆ ต่อมนุษยชาติด้วยเช่นกัน

Read more

‘เอลนีโญ’ ผลพวงสภาพอากาศสุดขั้ว สัญญาณวิกฤตภัยแล้งรุนแรง

‘เอลนีโญ’ ชื่อที่หลายคนได้ยินมานาน เป็นปรากฎการณ์ธรรมชาติที่ส่งผลให้ฝนตกน้อยและเกิดภาวะแห้งแล้ง จากการคาดกาณ์ขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ระบุว่าปรากฎการณ์เอลนีโญที่เกิดขึ้นแล้วในครั้งนี้จะกระตุ้นให้อุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นอีก ทำให้โลกต้องเผชิญวิกฤตสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงมากขึ้น ทั้งคลื่นความร้อน น้ำท่วม และไฟป่า

Read more

‘มหาสมุทร’ แหล่งกักเก็บคาร์บอน 1 ใน 4 ที่มนุษย์ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศ

ระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่งเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนหรือคาร์บอนซิงค์ ที่มีประสิทธิภาพในการกักเก็บคาร์บอนได้มากกว่าป่าไม้ถึง 10 เท่า ดึงคาร์บอนลงไปกักเก็บไว้ในใต้ดินได้ถึงร้อยละ 50 – 99 โดยมหาสมุทรเป็นคาร์บอนซิงค์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากกว่า 1 ใน 4 ที่มนุษย์ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศ สามารถลดผลกระทบจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 141-146 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี ปี 2565 นับเป็นก้าวย่างสำคัญของประเทศไทยในการเริ่มต้นลงมืออย่างเป็นรูปธรรมในการนำ “บลูคาร์บอน” (Blue…

Read more

อุณหภูมิโลกระอุต่อเนื่อง เตรียมรับมือผลกระทบคลื่นความร้อนสุดขั้ว ปี 67

ภายหลังโลกต้องเผชิญกับภัยพิบัติภูมิอากาศอย่างหนักหนาสาหัสมาตลอดทั้งปี 2566 โดยเฉพาะภัยจากคลื่นความร้อนสุดขั้ว ที่ส่งผลให้ปี 2566 ถือเป็นปีที่ร้อนที่สุดนับตั้งแต่มีการบันทึก อย่างไรก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ชี้ว่า สถิตินี้อาจมีอายุไม่ยืดนัก เพราะเราอาจจะต้องเจอกับปีที่ร้อนจัดยิ่งกว่าในปี 2567

Read more