ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากฝุ่น PM2.5 กว่า 7 หมื่นคน (สูงเป็นอันดับสามของอาเซียนรองจากอินโดนีเซียและเวียดนาม) และมลพิษอากาศเป็นปัจจัยร่วมที่เป็นสาเหตุของกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หลอดเลือดในสมอง หัวใจขาดเลือด มะเร็งปอด และติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจส่วนล่าง ฯลฯ การสูดฝุ่น PM2.5 เข้าไปทุกจึงเสมือนการตายผ่อนส่ง
Pollution
ชัชชาติ’ สั่งเร่งลอกคลองในกรุงเทพฯ
เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ
แก้ปัญหาน้ำท่วม เผยคลองบางซื่อไม่ได้ขุดลอกมา 13 ปี
‘ชัชชาติ’ สั่งเร่งลอกคลองในกรุงเทพฯ เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำแก้ปัญหาน้ำท่วม เผยคลองบางซื่อไม่ได้ขุดลอกมา 13 ปี นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กรุงเทพมหานคร (กทม.) ลงพื้นที่ตรวจระบบระบายน้ำที่สถานีสูบน้ำคลองบางซื่อ เมื่อวันที่ 29 ก.ค. 2565 ซึ่งเป็นประตูระบายน้ำลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา โดยนายชัชชาติ ระบุว่า ระบบระบายน้ำหลักคือระบบคลองและอุโมงค์ระบายน้ำ แต่หัวใจหลักๆการระบายน้ำทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออก คือ …
นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เปิดเผยภายหลังหารือร่างแผนปฏิบัติการพัฒนาระบบจัดการมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดของ กทม. ร่วมกับ 30 องค์กร นำโดย ดร.สุจิตรา วาสนาดำรงดี สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยผู้ว่าฯ กทม.ระบุว่า ผลจากการหารือแผนและรายละเอียดมีหลักใหญ่ที่ต้องทำ ดังนี้
เชื่อว่ามีพลาสติกมากกว่า 5 ล้านล้านชิ้นอยู่ในมหาสมุทรของโลก และไม่มีใครตอบได้ว่ามันจะสลายตัวหรือหายไปเมื่อไหร่ นั่นเพราะมนุษย์ผลิต ใช้และทิ้งพลาสติกทุกวัน โดยในแต่ละปีมีการผลิตพลาสติกมากถึง 400 ล้านตัน และ 40% เป็นพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง
อุปสรรคแก้ฝุ่นพิษกรุงเทพฯ-ปริมณฑล
นโยบายไม่ต่อเนื่องติดปัญหาเชิงโครงสร้าง
นโยบายการแก้ปัญหามลพิษอากาศในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ทั้งภาครัฐและเอกชนอาจดูมีมุมมองที่แตกต่าง ทำให้เห็นได้ว่าทิศทางการแก้ปัญหายังไม่สอดคล้องกัน แม้จะมีกฎหมายมากพอในการใช้บังคับ มีองค์ความรู้ทางวิชาการที่หลากหลาย แต่ในสภาพความเป็นจริงสถานการณ์ฝุ่น PM2.5 ในเมืองหลวงและจังหวัดโดยรอบยังอยู่ในระดับที่มีอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน
แหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 เมืองกรุง
ซับซ้อน-ต้นทุนสูง-ตายปีละ 5 หมื่น
ปฏิเสธไม่ได้ว่าอันตรายจากสิ่งที่มองไม่เห็นเป็นเรื่องยากต่อการอธิบาย สร้างความเข้าใจ และความตระหนักต่อประชาชน โดยเฉพาะภัยคุกคามจากมลพิษอากาศ อย่างเช่นฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนหรือฝุ่น PM2.5 ซึ่งองค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่า แต่ละปีในประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตก่อนวัยอันควรร่วม 5 หมื่นคน และมีต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์มูลค่า 8-9 แสนล้านบาท
ไทยยกระดับคุณภาพอากาศ
37.5 มคก./ลบ.ม. เทียบเท่าอเมริกา ยุโรป
เริ่มบังคับใช้ 1 มิ.ย. 66
ตั้งแต่วันที่ 1 มิ.ย. 2566 ประเทศไทยจะปรับค่าเฉลี่ยมาตรฐานฝุ่น PM2.5 ราย 24 ชั่วโมงใหม่ จากเดิมอยู่ที่ 50 มคก./ลบ.ม. ลดลงเป็น 37.5 มคก./ลบ.ม.และค่าเฉลี่ยรายปีจากเดิม 25 มคก./ลบ.ม. ปรับลดลงเป็น 15 มคก./ลบ.ม. โดยจะมีผลบังคับใช้หลังลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา หรืออีกประมาณ …
มีอาชีพหนึ่งกำลังมาแรงและทำรายได้อย่างงามในมหานครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา นั่นคือ “idling warriors” หรือ “นักรบจับรถปล่อยควัน” ซึ่งจะคอยจับตาว่ายานพาหนะคันไหนที่ละเมิดกฎหมายด้านมลพิษของเมือง เมื่อพบแล้วก็จะถ่ายคลิปส่งเจ้าหน้าที่
ฝุ่นพิษกรุงเทพฯ แย่อันดับ 4 ของโลก เหนือ-อีสาน-กลางอ่วมหลายพื้นที่ เตือนเฝ้าระวัง 16-17 เม.ย. ภาคเหนือตอนบนฝั่งตะวันออกอากาศนิ่งกระทบอีสาน เว็บไซต์ IQAir เว็บไซต์จัดอันดับคุณภาพอากาศทั่วโลก รายงานในช่วงเวลา 09.00 น. วันที่ 10 เม.ย. ว่า กรุงเทพมหานคร (กทม.) มีคุณภาพอากาศแย่เป็นอันดับ …