การศึกษาใหม่พบว่ามีเพียง 0.18% ของพื้นที่โลกและ 0.001% ของประชากรโลกเท่านั้นที่สัมผัสระดับ PM2.5 ต่ำกว่า 15 มคก./ลบ.ม. ตามเกณฑ์แนะนำคุณภาพอากาศ PM2.5 ใหม่ที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ
Pollution
PM 2.5 กทม.พุ่งเกินมาตรฐาน แนวโน้มต่อเนื่องถึง 8 มี.ค.
วันนี้ (7 มี.ค. 2566) ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานครรายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ของสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานคร ช่วงเวลา 05.00-07.00 น. ตรวจวัดได้ 58-93 มคก./ลบ.ม. ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพมหานคร 72.6 มคก./ลบ.ม. และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและอยู่ในระดับกระทบต่อสุขภาพ จำนวน 69 …
คนส่วนใหญ่คิดว่ามลพิษอากาศเป็นสิ่งที่มาจากภายนอก เช่น โรงงาน สถานก่อสร้าง หรือท่อไอเสียยนต์ แต่ในความเป็นจริงแล้วอากาศภายในบ้านหรือในที่ทำงานก็มีโอกาสเป็นเป็นมลพิษได้เช่นกัน ซึ่งมลพิษอากาศภายในอาคารอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมากกว่ามลพิษทางอากาศภายนอกอาคารด้วยซ้ำ
‘ราดำ’ คร่าชีวิตเด็กวัย 2 ขวบ มลพิษอากาศในอาคารที่ไม่ควรมองข้าม
มลพิษทางอากาศเป็นสาเหตุสำคัญของโรคไม่ติดต่อ ไม่ว่าจะเป็น โรคหอบหืด โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง มะเร็งปอด และอาจรวมถึงโรคสมองเสื่อม ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาทั่วโลกพยายามปรับปรุงคุณภาพอากาศภายนอกอาคาร เช่น PM 2.5 แต่คุณภาพอากาศภายในอาคารกลับถูกมองข้ามแม้ว่าอาจทำให้เสียชีวิตได้เกือบเท่าๆ กัน
การสัมผัสไอเสียจากดีเซลเพียง 2 ชั่วโมง ทำให้การเชื่อมต่อการทำงานของสมองส่วน DMN ลดลง ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญในการกระตุ้น หรือรักษาอาการซึมเศร้า และย้ำคิดย้ำทำ
การศึกษาใหม่โดยนักวิทยาศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมพบว่าการบริโภคปลาน้ำจืดหนึ่งครั้งต่อปีอาจเท่ากับการดื่มน้ำที่มีสารเคมี PFAS เป็นเวลาหนึ่งเดือน ซึ่งถือได้ว่าเป็นการรบรับเคมีอันตรายในปริมาณที่สูงและอันตราย
ศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ (ศกพ.) แถลงข่าวการเตรียมพร้อมป้องกันและแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 ประจำปี 2566 โดยกล่าวว่า สถานการณ์ฝุ่นละออง PM2.5 มักเกิดขึ้นในช่วงปลายปีและต้นปี จากข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยา ระบุว่า ช่วงต้นปี 66 จะมีความกดอากาศสูงจากประเทศจีนแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทย ทำให้ฝุ่นละออง PM2.5 เกิดการสะสม ซึ่งถือว่าสภาพอากาศเป็นปัจจัยสำคัญที่คาดว่าฝุ่นละออง PM2.5 จะมีค่าเกินมาตรฐานมากกว่าในปีก่อน
‘บ้านก้อแซนบ็อกซ์’ โมเดลแก้ฝุ่น
ปรับวิถีปลูกเห็ดใกล้บ้านสร้างรายได้
เมื่อปากท้องอิ่มชาวบ้านเลิกเผาป่า
เหตุการณ์ไฟป่าในพื้นที่จังหวัดภาคเหนือที่เกิดขึ้นประจำทุกปีและต่อเนื่องมากว่า 10 ปี กลายเป็นโจทย์ระดับชาติที่ยังไม่มีทีท่าว่าจะหาทางจบลงได้ ทว่าที่บ้านก้อ จ.ลำพูน กลับมีโมเดลการแก้ปัญหาที่น่าสนใจ โดยเมื่อปีในปี 2562 ชมรมผู้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ใช้ข้อมูลเซนเซอร์โมดิสสำรวจพื้นที่พบว่า เกิดไฟไหม้ที่บ้านก้อ 2 แสนกว่าไร่ และเป็นปีที่เกิดไฟไหม้สูงสุด จากพื้นที่บริเวณอุทยานแห่งชาติแม่ปิง 6 แสนกว่าไร่
ในฐานะกรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวงที่เป็นศูนย์รวมของทุกอย่าง เราคงลดกิจกรรมไม่ให้มุ่งหน้าเข้าสู่กรุงเทพฯ ได้ เพราะเครื่องจักรขับเคลื่อนเศรษฐกิจจะชะงัก การจะลดปริมาณการใช้รถยนต์จึงแทบจะเป็นไปไม่ได้ ทว่าสามารถเปลี่ยนเครื่องยนต์สันดาปให้เป็นรถไฟฟ้า หรือรถ EV แทนได้ .