Pollution

ส่องเลือกตั้งผู้ว่าลอนดอน ชู
‘เก็บค่าธรรมเนียมใช้ถนน’
ขยายพื้นที่เขตปล่อยมลพิษต่ำ

ส่องนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมของผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. รอบนี้ดูเหมือนจะผิว ๆ แต่เมื่อไปดูกันที่การเลือกตั้งนายกเทศมนตรีกรุงลอนดอนเมื่อปี 2021 มีการดีเบตกันในเรื่องสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะ แสดงให้เห็นถึงความใส่ใจของชาวเมืองต่อปัญหานี้และในฐานะที่ลอนดอนได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่หนักขึ้น

Read more

โลกกำลังก้าวสู่ยุคการบินไร้มลพิษ
แอร์บัสทดลองเชื้อเพลิงน้ำมันพืช
ช่วยลดคาร์บอน 53-71%

แอร์บัส (Airbus) ผู้ผลิตเครื่องบินชั้นนำของโลกจากฝรั่งเศส ก้าวไปอีกขั้นด้วยการทำการบินครั้งแรกด้วยเชื้อเพลิงการบินที่ยั่งยืน หรือที่เรียกว่า “SAF” แบบ 100% และที่น่าสนใจก็คือ SAF ที่นำมาขับเคลื่อนเครื่องบินนี้ทำมาจากน้ำมันพืช!

Read more

เปิดรายงานคุณภาพอากาศปี 2021
วัด PM2.5 เมืองทั่วโลกผ่านเกณฑ์ 3%
‘นิวเดลี’ แชมป์มลพิษสูงสุด 4 ปีติด

รายงานคุณภาพอากาศโลกปี 2021 ขององค์กร IQAir พบว่ามีเพียง 3% ของเมืองทั่วโลกเท่านั้นที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพอากาศ แต่ในระดับประเทศไม่มีประเทศใดผ่านเกณฑ์เลยตามแนวทางคุณภาพอากาศประจำปีล่าสุดขององค์การอนามัยโลก (WHO)

Read more

‘วราวุธ’ ขึ้นเหนือแก้ PM2.5
ภาคประชาชนฟ้องศาลปกครอง
รัฐละเลยปฏิบัติหน้าที่ลดมลพิษฝุ่น

องค์กรภาคประชาชนและองค์กรพัฒนาเอกชน ประกอบด้วย สภาลมหายใจภาคเหนือ สภาลมหายใจเชียงใหม่ มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (Enlaw) กรีนพีซ ประเทศไทย และมูลนิธิบูรณะนิเวศ จะเป็นโจทก์ยื่นฟ้องคดีปกครองต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกระทรวงอุตสาหกรรม ฐานละเลยการปฎิบัติหน้าที่เพื่อให้หน่วยงานรัฐทั้งสองปฎิบัติตามแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” ปี 2562 ในการแก้ไขปัญหา PM2.5

Read more

ขอร่วมแสดงความอาลัย
มะเร็งปอดคร่าชีวิตอาจารย์ มช.
ผู้เชี่ยวชาญ​เรื่องผึ้งระดับโลก

iGreen ขอร่วมแสดงความอาลัยต่อการจากไปของ รศ.ดร.ภาณุวรรณ จันทวรรณกูร อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด้วยโรคมะเร็งปอด เมื่อเช้าวันที่ 18 มี.ค. 2565 

Read more

ผลการวิจัยฝุ่นตอกย้ำ PM2.5
เสี่ยงโรคพุ่มพวง-รูมาตอยด์
ไทยติดกลุ่มตายก่อนวัยอันควร

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเวโรนา ประเทศอิตาลีทำการศึกษาวิเคราะห์การได้รับฝุ่นละอองขนาดเล็ก คือฝุ่น PM10 และ PM2.5  ซึ่งผลิตโดยแหล่งต่าง ๆ เช่น รถยนต์และโรงไฟฟ้าโดยเฉลี่ยในระยะยาวระดับความเข้มข้นของฝุ่น PM10 ถ้าสูงถึง 30 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.) และ PM2.5 สูงถึง 20 มคก./ลบ.ม. โดยทั่วไปถือว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์

Read more

นักวิทย์นำทรายแมว ‘ซีโอไลต์’
ดูดซับก๊าซมีเทนในบรรยากาศ
แปลงเป็นคาร์บอนทำวัสดุใช้งานต่อ

การใช้ซีโอไลต์ซึ่งเป็นแร่ธาตุดูดซับกลิ่นมาผสมด้วยทองแดงจะมีประสิทธิภาพในการดูดซับก๊าซมีเทนจากบรรยากาศ และยังสามารถเปลี่ยนมีเทนครึ่งหนึ่งเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ที่สามารถนำไปผลิตวัสดุที่ใช้ประโยชน์ต่อได้อีก

Read more

ภาวะสงครามจากอดีตถึงยูเครน
ก่อหายนะสิ่งแวดล้อมโลกมหาศาล

การใช้อาวุธถล่มยูเครนโดยรัสเซียตั้งแต่ช่วงสองวันแรกพุ่งเป้าไปที่โครงสร้างพื้นฐานทางทหารของยูเครน แต่บ้านเรือนของประชาชนก็ถูกโจมตีอย่างจงใจ ตามมาด้วย รวมถึงคลังเก็บอาวุธ สนามบิน ฐานทัพเรือ ถังเก็บเชื้อเพลิงในหลายจุด ฯลฯ กล่าวได้ว่าการก่อสงครามไม่มีข้อยกเว้นพื้นที่ความเสียหาย

Read more

ถกแก้ปัญหาขยะพลาสติก
ผลักดันสนธิสัญญาระดับโลก
คุมการผลิตและเพิ่มการรีไซเคิล

ผู้แทนจาก 193 ประเทศสมาชิกสหประชาชาติ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ จะเข้าร่วมประชุมด้านสิ่งแวดล้อมของสหประชาชาติ (UN) ทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 28 ก.พ.ถึง 2 มี.ค.นี้ ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงไนโรบี ประเทศเคนยา เพื่อเตรียมการในการยกร่างสนธิสัญญาระดับโลกฉบับแรกว่าด้วยการต่อต้านขยะพลาสติก

Read more

แท่นขุดน้ำมันระเบิด 12 ปีก่อน
ทำโลมาอ่าวเม็กซิโกลด 45%

งานวิจัยชิ้นใหม่ระบุว่า ปลาโลมาปากขวดเกือบ 80% ที่สัมผัสกับมลพิษน้ำมันจากเหตุการณ์แท่นขุดเจาะน้ำมันระเบิดในอ่าวเม็กซิโกหรือที่เรียกว่า Deepwater Horizon เมื่อ 12 ปีที่ผ่านมา และมีปริมาณการรั่วไหลของน้ำมันราว ๆ 470,770 ตัน ผลการสำรวจเมื่อเร็ว ๆ นี้พบว่าทำให้ประชากรโลมาบริเวณอ่าวบาราทาเรียใกล้เมืองนิวออร์ลีนส์ลดลงถึง 45% และการสืบพันธุ์ลดลงอย่างมาก

Read more