การขยายตัวของเมือง การทำลายป่า การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน โดยเฉพาะวิกฤตโลกร้อนที่รุนแรงล้วนเป็นสาเหตุให้สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพมากขึ้น
Climate
ปลัดกระทรวงทรัพย์บิน ฮ.สำรวจเวียงป่าเป้า ยืนยันว่าป่าสมบูรณ์ ไม่ใช่สาเหตุดินโคลนถล่ม เตรียมประกาศพื้นที่เสี่ยงดินถล่มที่เพิ่มขึ้น 2 เท่า
แม้สถานการณ์น้ำท่วมในหลายจังหวัดจะคลี่คลายลง แต่บางจังหวัดน้ำเหนือยังคงไหลเข้าท่วมและได้รับความเสียหายหนัก ลุ้นมรสุมพัดฝนถล่มซ้ำ 29 ก.ย. – 3 ต.ค.นี้
คลังเสนอ ครม.ภายใน ต.ค. นี้ให้มีการจัดเก็บภาษีคาร์บอนธุรกิจน้ำมัน แบตเตอรี เพื่อดันไทยสู่สังคมคาร์บอนต่ำ คาดพ.ร.บโลกร้อนบังคับใช้ได้ในปี 2569
กระทรวงทรัพย์เตรียมจัดงาน TCAC 2024 ครั้งที่ 3 ภายในงาน Sustainability Expo (SX) ระหว่างวันที่ 3-4 ต.ค.นี้ ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
เหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในพื้นที่ภาคเหนือครั้งรุนแรงมีสาเหตุจากการตัดไม้ทำลายป่าใช่หรือไม่…หรือนี่คือการเขย่าขวัญจากภาวะโลกเดือด
เหตุการณ์น้ำท่วมเชียงราย และอีกหลายจังหวัดรุนแรงกว่าปี 2554 กรุงเทพฯ เสี่ยงสูงหากพายุซ้ำอีกลูก เตรียมตัวหนึ่งต้น ต.ค.น้ำทะเลหนุนสูงมากกว่านี้
นักวิทยาศาสตร์ตอกย้ำหลายครั้งว่าวิกฤตโลกร้อนจะทำให้ประเทศหมู่เกาะและเมืองชายฝั่งเสี่ยงจมทะเล แต่ดูเหมือนประเทศไทยจะยังไม่ตื่นตัวรับมือมากพอ เมืองหลวงของหลายประเทศในอาเซียนมีโอกาสสูงมากที่จะจมทะเล ด้วยภาวะโลกร้อนเข้าสู่วิกฤตหนักหน่วงมากยิ่งขึ้น โดยไม่มีทีท่าจะหยุดยั้งกิจกรรมการพัฒนาของมนุษย์ในทุกมิติลงได้ ก๊าซเรือนกระจกจึงถูกปล่อยในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ มหาสมุทรซึ่งมีศักยภาพในการดูดซับความร้อนและคาร์บอนไดออกไซด์ไปกักเก็บใต้ทะเลก็ไม่อาจรับไหว น้ำทะเลอุ่นจึงมากขึ้น ซึ่งแน่นอนอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นได้เร่งอัตราการละลายธารน้ำแข็งขั้วโลก ระดับน้ำทะเลก็ยิ่งเพิ่มสูงขึ้นในทุกปี ข้อมูลรายงานฉบับหนึ่งที่ชื่อ State of Climate in the South-West Pacific 2023 ขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) …
สึนามิที่เกิดบนเกาะกรีนแลนด์เมื่อปีที่แล้วมาจากยอดเขาขนาดมหึมาถล่ม ทำให้ฟยอร์ดถูกคลื่นกระแทก ระดับน้ำสูง 200 เมตร สาเหตุมาภาวะโลกร้อน
พายุดีเปรสชั่นแรงทำให้มีฝนตกหนักถึงหนักมาก โดยเฉพาะภาคอีสานตอยบน ส่งผลมาถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล ช่วง 20-23 ก.ย.นี้