COP27 และ COP15 อะไรคือจุดเชื่อมโยง
COP15 ว่าด้วยเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ ในขณะที่ COP27 ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
COP15 ว่าด้วยเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ ในขณะที่ COP27 ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
สภาพความเสียหายหลังเกิดเหตุดินถล่มบนเกาะอิสเกีย ทางตอนใต้ของอิตาลี เมื่อเช้าวันเสาร์ที่ 26 พ.ย. ตามเวลาท้องถิ่น ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 7 ราย รวมทั้งทารกแรกเกิดและเด็ก 2 คน และผู้สูญหายอีก 5 คน ล่าสุดรัฐได้ให้เข้าการช่วยเหลือและอพยพประชาชนออกมาแล้วราว 230 คน
ในขณะที่ทั่วโลกกำลังรู้สึกถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อน แต่ ‘ตูวาลู’ ประเทศเกาะเล็กๆ ในตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกกำลังเผชิญผลกระทบหนักที่สุด แม้ตูวาลูจะมีประชากรราว 12,000 คน แต่ประชากรเหล่านี้กำลังทุกข์ทรมานกับอนาคตอันใกล้ที่จะไร้ซึ่งแผ่นดินอาศัย
เรื่องนี้เกี่ยวข้องกับสังคมการเมืองเศรษฐกิจโลก ซึ่งกระแสสีเขียวหรือฟอกเขียวที่เป็นกระแสใหญ่ที่สุดที่ถูกนำมาใช้เคลือบทุกสิ่งทุกอย่าง ดังนั้นทุกบริษัท ทุกกลุ่มทุน ทุกรัฐจะประกาศว่าจะบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน
การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศครั้งที่ 27 หรือ COP27 ในอียิปต์ครั้งนี้มีการจำกัดสิทธิ์การชุมนุมให้อยู่ใน “เขตการประท้วง” ที่ทางการอียิปต์จัดให้เป็นพิเศษเท่านั้น ซึ่งอยู่ห่างจากสถานที่จัดการประชุมหลัก และจะต้องมีการแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วัน โดยหนึ่งในกฎเกณฑ์ที่กำหนดคือการห้ามใช้ “วัตถุเลียนแบบ” เช่น ภาพวาดเหน็บแนมผู้นำแห่งรัฐ ผู้เจรจา หรือบุคคล
กลุ่ม Fridays for Future เคลื่อนไหวเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาเรียกร้องให้รัฐบาลทั่วโลกเร่งแก้ปัญหา ‘โลกรวน’ ก่อนประชุม COP 27 ที่อียิปต์ปลายปีนี้
ความไม่แน่นอนของโลกทำให้คนจำนวนมากตัดสินใจเลือกที่จะไม่มีลูก เพราะกลัวว่าลูกจะเกิดมาแล้วต้องเผชิญกับโลกที่เลวร้ายหลังการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ความคิดแบบนี้กำลังมีพลังมากขึ้น และตอนนี้กลายเป็นขบวนการแล้ว หนึ่งในนั้น คือ The Birthstrike Movement
อีวอน โชวีนาร์ด (Yvon Chouinard) เป็นนักปีนเขาชาวอเมริกัน และนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมผู้ใจบุญ เขาคือนักธุรกิจเจ้าของ Patagonia (พาทาโกเนีย) แบรนด์เสื้อผ้าและอุปกรณ์เดินป่าสัญชาติอเมริกัน ซึ่งได้ประกาศบริจาคหุ้นของบริษัทและนำกำไรประมาณ 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐให้กับองค์กรการกุศลเพื่อนำเงินไปจัดการปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
อาร์กติกเป็นดินแดนที่เกิดความสูญเสียเพราะภาวะโลกร้อนมากที่สุดแห่งหนึ่ง ในขณะที่ภูมิภาคนี้อุ่นขึ้นเร็วกว่าส่วนอื่นๆ ของโลกเกือบสี่เท่า ธารน้ำแข็งก็พังทลาย สัตว์ป่าต้องทนทุกข์ทรมาน และที่อยู่อาศัยต่างๆ ยังคงหายไปอย่างรวดเร็วเป็นประวัติการณ์
เขื่อนอัฟชเลาไดค์เป็นงานด้านวิศวกรรมที่มหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่ และทุกวันนี้ยังมีการเสริมความแข็งแกร่งด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา รวมถึงการประเมินความรุนแรงจากคลื่นด้วย แต่ตอนนี้เขื่อนและทางหลวงอันแข็งแกร่งนี้เริ่มที่รับมือทะเลไม่ไหว โดยเฉพาะความรุนแรงของคลื่นและพายุที่หนักขึ้น