Climate Change

อพยพประชาชนหลายร้อย หลังไฟป่าเกาหลีใต้ลาม 2 พันไร่

ประชาชนเมืองคังนึง (Gangneung) มากกว่า 500 คน ต้องอพยพออกจากบ้านหลังไฟป่าโหมพัดเข้าตัวเมืองเมื่อวันอังคารที่ผ่านมา ล่าสุดเจ้าหน้าที่ดับเพลิงกว่า  2,700 คน ได้เข้าควบคุมเพลิงได้เป็นที่เรียบร้อย

Read more

อุณหภูมิพื้นผิวมหาสมุทรโลกทุบสติถิ สูงสุดเป็นประวัติการณ์

อุณหภูมิพื้นผิวมหาสมุทรทั่วโลกแตะ 21.1°C สูงที่สุดนับตั้งแต่เริ่มมีการบันทึก ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งชี้ปลายปีนี้อาจเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิก

Read more

นักวิทย์แนะเร่งฟื้นฟูประชากรสัตว์ ช่วยดูดซับคาร์บอน ลดโลกร้อน

การศึกษาใหม่พบว่าการการปกป้องและฟื้นฟูประชากรสัตว์บางสายพันธุ์อาจช่วยลดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ โดยเฉพาะสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น ช้าง วาฬ วัวกระทิง และฉลาม ซึ่งมีประสิทธิภาพการจับคาร์บอนเทียบเท่ากับป่า 

Read more

อินเดียเดือดระอุ เสี่ยงร้อนเกินขีดจำกัดมนุษย์จะอยู่รอด

สำนักงานสภาพอากาศแห่งชาติคาดการณ์ว่าอินเดียจะเผชิญอุณหภูมิที่สูงขึ้นในอีกไม่กี่สัปดาห์ข้างหน้า ทำให้เกิดความกังวลว่าจะเกิดคลื่นความร้อนสูงเป็นประวัติการณ์ซ้ำรอยจากปีที่แล้ว ซึ่งทำให้พืชผลเสียหายเป็นวงกว้างและทำให้ไฟดับนานหลายชั่วโมง

Read more

ป่าฝนคองโกแซงหน้าแอมะซอน ยืนหนึ่งดูดซับคาร์บอนโลก

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเกนต์ ระบุว่าป่าฝนเขตสงวนชีวมณฑลของยูเนสโกในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกจะกลายเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนอันดับหนึ่งที่สำคัญสุดในโลก แทนที่ป่าแอมะซอนในอเมริกาใต้

Read more

มติเป็นเอกฉันท์ ให้ ‘ศาลโลก’ รับร้องหากรัฐเพิกเฉยต่อการแก้ปัญหาโลกร้อน

มตินี้ถูกนำเข้าวาระการประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2566 ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกว่า 130 ประเทศ เว้นแต่ 2 ประเทศผู้ก่อมลพิษอากาศรายใหญ่ที่สุดของโลกคือสหรัฐอเมริกาและจีน ที่ไม่แสดงการสนับสนุน แต่ไม่ได้คัดค้าน นั่นหมายความว่ามติดังกล่าวผ่านมติเอกฉันท์

Read more

รู้หรือไม่ ‘ถุงผ้า’ ใช้ซ้ำแค่ไหนถึงจะพอ

จากการศึกษาเส้นทางของถุงผ้าพบว่าการผลิตถุงผ้ามีคาร์บอนฟุตพริ้นท์สูงกว่าถุงพลาสติกแบบบาง และควรนำถุงผ้านั้นมาใช้อย่างน้อย 7,100 ครั้ง เพื่อตอบโจทย์ทางเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง

Read more

แบคทีเรียใน ‘อึลูกจิงโจ้’ กุญแจสำคัญลดก๊าซมีเทนในตดและเรอของวัว

ในปี 2019 IPCC รายงานว่า 13% -21% ของก๊าซเรือนกระจกจากมนุษย์มาจากภาคเกษตรกรรม ป่าไม้ และการใช้ที่ดิน โดยตัวการปล่อยก๊าซหลักจากภาคเกษตรกรรมคือก๊าซมีเทนที่มาจากฟาร์มปศุสัตว์ ก๊าซมีเทนเกิดขึ้นจากระบบย่อยอาหารของสัตว์โดยเฉพาะสัตว์เคี้ยวเอื้อง เช่น วัวและแกะ ที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงกว่า หมู เป็ด และไก่ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมามีการพยายามหาทางออกให้กับมลพิษ ‘ตดและเรอ’ ของวัวและแพะ ทั้งเก็บภาษีเรอ เติมส่วนผสมบางอย่างลงในอาหารสัตว์เพื่อป้องกันไม่ให้แบคทีเรียในกระเพาะอาหารผลิตก๊าซมีเทนในขณะที่ย่อยอาหาร…

Read more

โศกนาฏกรรมตุรกีรอบ 100 ปี บทเรียนอาคารไม่ได้มาตรฐาน

โศกนาฏกรรม “แผ่นดินไหวตุรกี” รอบ 100 ปี ซึ่งเกิดรอยเลื่อนเคลื่อนตัวยาวกว่า 300 กม. เป็นบทเรียนให้ทราบว่าโครงสร้างอาคารที่ไม่ได้ออกแบบรองรับแผ่นดินดินไหวเป็นความเสี่ยง และสาเหตุทำให้อาคารพังถล่มจนมีผู้เสียชีวิตกว่า 7,000 ราย เตือนบริเวณ “รอยเลื่อนแม่จัน” ไม่เกิดแผ่นดินไหวมากว่า 500 ปีแล้ว

Read more

กรม Climate Change กับภารกิจใหญ่สู้โลกร้อน

กรม Climate Change หรือกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม ภายใต้สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จะเข้ามาทำหน้าที่เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อศึกษา ดูแล และรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์และมีประสิทธิภาพสูงสุด

Read more