การรับซื้อปลาหมอคางดำ 2 ล้านกิโลกรัม วงเงิน 30 ล้านบาท เพียงพอต่อการแก้ปัญหาปลาเอเลียนที่ทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาเดือดร้อนหรือไม่ นี่คือคำถาม
Article
การลดความรุนแรงวิกฤตสภาพอากาศไม่ต้องพึ่งความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์มากเสมอไป เพราะวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิผลที่สุดมาจากกลโกธรรมชาติที่มีอยู่
ในเร็วๆ นี้ตั๊กแตน ผีเสื้อกลางคืน จิ้งหรีด และหนอนแมลงจะเป็นเมนูอาหารในสิงคโปร์ และวางจำหน่ายในซูเปอร์มาร์เก็ต หลังรัฐบาลอนุมัติให้นำเข้า
คนมุ่งสู่เมือง 6,700 ล้าน? เร่งพัฒนาเมืองน่าอยู่ เพื่อบำรุงจิตวิญญาณ
การขยายตัวของเมืองและการเพิ่มขึ้นสร้างแรงกดดันต่อระบบนิเวศมากขึ้น แต่ก็มีแนวโน้มที่ชาวเมืองจะร่วมกันฟื้นฟูสภาพแวดล้อมของเมืองขึ้นมาใหม่
การทำประมงเกินขนาด หรือ “ประมงทำลายล้าง” (overfishing) หนึ่งในสาเหตุทำให้การจับปลาและมูลค่าสัตว์น้ำในอ่าวไทยลดลง แต่ไม่เกี่ยวกับปลาหมอคางดำ
ใครต้องรับผิดชอบต่อกรณี “ปลาหมอคางดำ” เอเลียนสัตว์น้ำที่ระบาดใน 13 จังหวัด เนื่องจากทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนผู้นำเข้าต่างบ่ายเบี่ยง
สิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นต่อสภาพภูมิอากาศโลก หาก “ทรัมป์” ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอีกสมัย คงต้องใช้คำว่าโลกเข้าสู่ “หายนะ” หนักขึ้น
ทุกคนสามารถลดขยะจาก “ซองเครื่องปรุง” ได้ โดยการปฏิเสธกับร้านค้า แต่ใครรับมาแล้ว แต่ไม่ได้ใช้ สามารถส่งไปผลิตเป็นพลังงานได้
ข่าวดีสุดๆ สำหรับวงการนักอนุรักษ์อเมริกาใต้ เมื่อป่าฝนผืนที่ใหญ่ที่สุดของโลกอย่าง “แอมะซอน” ในโคลอมเบียลดการบุกรุกลงได้ถึง 36% ภายในปีเดียว
ดราม่า! ปั่นกระแส ‘เขียวตกขอบ’ นักอนุรักษ์รับใช้อำนาจรัฐ ซ้ำเติมคนจน?
คอลัมน์ ‘เด็กหลังห้อง’ ขออธิบายความหมายของคำว่า “เขียวตกขอบ” ที่มีอาจารย์ มช. ออกมาเปิดประเด็น และเจตนาการอนรักษ์ป่าของมูลนิธิสืบนาคะเสถียร