ผมเพิ่งได้โอกาสเดินทางไปยังเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรด้านตะวันตกเป็นครั้งแรก นับจากเกิดเหตุการณ์ยิงเสือดำ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2561
Article
เดือนเมษายน 2559 เป็นครั้งสุดท้ายที่มีการพบนกแต้วแล้วท้องดำ (Gurney’s Pitta) ตัวเป็นๆ ในป่าเมืองไทย ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาประ-บางคราม (เขานอจู้จี้) จ.กระบี่
ขวัญใจคนดูสารคดีเกี่ยวกับโลกและธรรมชาติ เซอร์เดวิด แอตเทนเบอเรอห์ กลับมาอีกครั้งกับสารคดีโทรทัศน์ Climate Change – The Facts เพื่อตรวจสอบวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการแก้ปัญหา
คอลัมน์สิงสาราสัตว์ โดย – ปริญญา ผดุงถิ่น สัตว์ป่าที่กำลังเข้าโครงการฟื้นฟูประชากร ซึ่งน่าลุ้นน่าเชียร์อย่างยิ่ง ก็คือ พญาแร้ง (Red-headed Vulture, Asian King Vulture) กรมอุทยานแห่งชาติฯ องค์การสวนสัตว์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมมือกันผลักดันความฝันของหลายๆ คนให้เป็นจริง ความฝันที่อยากเห็นพญาแร้งกลับมาร่อนลมอีกครั้ง เหนือฟากฟ้าเมืองไทยมีการนำหนุ่มสาวพญาแร้งมาจับคู่กันในกรง เพื่อให้พวกมันฟักไข่หวังให้มีแร้งในกรงมากพอจะปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ …
Forest gardening หรือการทำสวนเสมือนหนึ่งปลูกป่า เป็นวิธีการทำเกษตรแบบบุพกาลที่แพร่หลายในเอเชีย เป็นการปลูกพืชผักที่อิงกับระบบนิเวศเกษตร (Agroecosystem)
เชียงใหม่…จังหวัดที่คนกรุงเทพฯ มาซุกตัวอยู่มากสุดแห่งหนึ่ง กำลังประสบวิกฤตฝุ่นควันอย่างหนัก
การทำลายล้างโลก ไม่ได้หมายถึงแค่การทำลายสิ่งแวดล้อม แต่ยังหมายถึงการขูดรีดมนุษย์ด้วยกันอีกด้วย
เมื่อเดือนมกราคม 2019 มีรายงานการวิจัยในวารสาร Proceedings of the National Academy of Sciences ระบุว่า น้ำแข็งที่กรีนแลนด์ละลายเร็วกว่าที่คิดถึง 4 เท่า และตอนนี้พื้นที่ตะวันตกเฉียงใต้ของกรีนแลนด์ แทบจะไม่เหลือธารน้ำแข็งอีกแล้ว
เมื่อประมาณ 2 – 3 ทศวรรษที่ คำว่า บริโภคนิยม (Consumerrism) เป็นคำยอดฮิตในหมู่นักวิชาการ เอ็นจีโอ และนักเคลื่อนไหวเพื่อสังคมสาขาต่างๆ มันเป็นคำที่ถูกใช้แทนคำว่า ทุนนิยม (Capitalism) ในหลายกรณี และสามารถอธิบายพฤติกรรมของปัจเจกบุคคลในสังคมที่มีผลต่อโลกได้ดีกว่าการบอกว่า โลกของเรากำลังฉิบหายเพราะทุนนิยม
การเงินสีเขียว-การเงินสีฟ้า ลดช่องว่างการลงทุนทางโครงสร้างพื้นฐานอาเซียน ช่วยแก้ปัญหาโลกร้อน จัดการมลพิษที่เพิ่มขึ้นจากขยะพลาสติกและวัสดุอื่นๆ ในแม่น้ำและมหาสมุทร