ตามที่นักวิทยาศาสตร์จีนตีพิมพ์ผลงานวิจัยเผยแพร่ในวารสาร National Science Review ระบุว่า เชื้อไวรัส SARS-CoV2 ซึ่งเป็นสาเหตุการก่อโรค COVID-19 ที่มีอยู่ตอนนี้ได้มีการกลายพันธุ์ โดยมีสายพันธุ์รุนแรง เรียกว่า L type ส่วนสายพันธุ์รุนแรงน้อย เรียกว่า S type
Article
นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่จีนใช้ยาแผนโบราณของจีน หรือ TCM เพื่อต่อสู้กับการระบาดของโรคร้ายแรง ช่วงที่โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันร้ายแรง (SARS) ระบาดเมื่อปี 2546 จีนก็ใช้ยาแผนโบราณช่วย และต่อมาเมื่อมีการระบาดของไข้หวัดนก หรือ H1N1 ยาแผนโบราณจีนก็มีบทบาทเช่นกัน
รู้หรือไม่ว่า คนที่ร่ำรวยที่สุดในโลก คิดเป็นสัดส่วนประชากรของทั่วโลกแค่ 10% โดยคนเหล่านี้ควรต้องมีส่วนรับผิดชอบต่อการปล่อยมลพิษทั่วโลกถึง 50% หรือประมาณครึ่งหนึ่ง ในจำนวนนี้คนกลุ่มที่กุมความมั่งคั่งส่วนใหญ่ของโลกเอาไว้มีเพียงแค่ 1% การกอบโกยของพวก 1% ทำให้การผลาญทรัพยากรมากขึ้น เมื่อผลาญมากขึ้นสิ่งแวดล้อมโลกก็สั่นคลอนมากขึ้น
รู้หรือไม่ว่า คนที่ร่ำรวยที่สุดในโลก คิดเป็นสัดส่วนประชากรของทั่วโลกแค่ 10% โดยคนเหล่านี้ควรต้องมีส่วนรับผิดชอบต่อการปล่อยมลพิษทั่วโลกถึง 50% หรือประมาณครึ่งหนึ่ง ในจำนวนนี้คนกลุ่มที่กุมความมั่งคั่งส่วนใหญ่ของโลกเอาไว้มีเพียงแค่ 1% การกอบโกยของพวก 1% ทำให้การผลาญทรัพยากรมากขึ้น เมื่อผลาญมากขึ้นสิ่งแวดล้อมโลกก็สั่นคลอนมากขึ้น
อาณานิคมเพนกวินในบางส่วนของแอนตาร์กติกได้ลดลงมากกว่า 75% ในช่วงครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่าอาณานิคมของเพนกวินชินสแตรป (Chinstrap penguin) ลดลงอย่างมากตั้งแต่การสำรวจครั้งล่าสุดเมื่อปี 2514 ซึ่งเวลานั้นมีเพนกวินจำนวน 122,550 คู่ทั่วทั้งเกาะเอเลแฟนท์ (Elephant Island) ซึ่งเป็นเกาะที่ปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งนอกชายฝั่งแอนตาร์กติกา
เก็บตก “วันนกเงือก” 13 ก.พ. 2563 กิจกรรมที่จัดมูลนิธิศึกษาวิจัยนกเงือก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดขึ้นเป็นปีที่ 21 ณ สวนนกเงือก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพระราม 6 มีสาระสำคัญที่น่าสนใจ 13 ประเด็น ดังนี้
โดย – The Green Mile ถ้าเราหย่อนกบลงในน้ำเดือดทันทีทันใดมันก็จะกระโดดออกมา เพราะสะดุ้งน้ำร้อน แต่ถ้ากบถูกหย่อนลงไปในน้ำอุ่นแล้วนำไปต้มช้าๆ มันจะไม่รับรู้ถึงอันตรายและจะนอนแช่อยู่ในน้ำเดือดจนตาย เรื่องนี้มักใช้เป็นคำอุปมาถึงการไร้ความสามารถหรือไม่เต็มใจของผู้คนที่จะตอบสนองหรือตระหนักถึงภัยคุกคามที่น่ากลัวและเกิดขึ้นอย่างช้าๆ มากกว่าที่จะเกิดขึ้นในทันที
‘ข้าวเหนียว’ เป็นตัวแทนความมั่นคงทางอาหารของพื้นที่ภาคเหนือและอีสาน เพราะเป็นอาหารหลักของคนในพื้นที่ แต่ด้วยบริบทที่ไม่เป็นใจ ทุ่งนาลุ่มน้ำโขงที่ต้องเผชิญภัยธรรมชาติทั้งอุทกภัยและความแห้งแล้ง จึงแทบไม่เคยได้ปริมาณผลผลิตทัดเทียมพื้นที่อื่นซึ่งอุดมสมบูรณ์กว่า
ท่ามกลางอากาศหนาวเย็นยะเยือกแห่งป่าทุ่งใหญ่นเรศวร อุณหภูมิลดฮวบต่ำสิบตั้งแต่สิ้นแสงตะวัน เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าขนท่อนฟืนมาก่อไฟไล่หนาวจนเปลวโชติช่วง ทันใดนั้น เจ้าหน้าที่ที่ส่องไฟฉายเล่นๆ ไปตามพุ่มไม้ ก็ร้องขานออกมาว่า “แมว!” ผมเด้งตัวจากเก้าอี้พลาสติก จนเก้าอี้หักกร๊อบ (เก้าอี้ของเจ้าหน้าที่ กรรม!) พอมองตามแสงไฟฉายไป ไม่อยากเชื่อสายตา ที่เห็นนั่นคือ แมวดาว (Leopard Cat)
ในประวัติศาสตร์ด้านการแพทย์ เรามีโรคที่เป็นภัยคุกคามร้ายแรงจนถูกบันทึกไว้หลายโรค เช่น ไข้ทรพิษ วัณโรค อหิวาตกโรค ไข้เลือดออก มาลาเรีย SARS MERS อีโบล่า เอดส์…แต่ยังไม่มีโรคใดที่ทำความเสี่ยงให้กับมนุษย์ได้มากเท่ากับไวรัสอู่ฮั่น (Wuhan 2019) ในปัจจุบัน ยุคแรกๆ ที่เรารู้จักกัน คือ โรคไข้ทรพิษ เป็นแล้วตายในอัตราที่สูงถึง 30% แต่ถึงแม้จะยังไม่ตายหากติดโรคก็จะทุกข์ทรมาน …