โดย – มานพ คีรีภูวดล, ธนากร อัฏฐ์ประดิษฐ์ ตอนที่ 2 ว่าด้วยเรื่องของการ “เลิก” 1. เลิกใช้นโยบายที่มุ่งกำจัดไฟโดยไม่แยกแยะ (Fire Exclusion Policy) ด้วยอุดมคติที่ฝืนสภาพความจริง โดยไม่พิจารณาถึงเงื่อนไขสำคัญอื่นตามบริบทที่แตกต่าง โดยเฉพาะลักษณะทางนิเวศที่แตกต่างกันแม้กระทั่งในพื้นที่หนึ่งชุมชนท้องถิ่น ลักษณะทางสังคมวัฒนธรรม ส่งผลให้มาตรการที่ผ่านมาล้มเหลวและสร้างภาวะสะสมเชิงผลกระทบสืบเนื่องมา
Article
โดย – มานพ คีรีภูวดล, ธนากร อัฏฐ์ประดิษฐ์ ตอนที่ 1 ว่าด้วยเรื่องของการ “รื้อ” 1. รื้อความเข้าใจต่อประเด็น “ไฟป่า” ส่วนหนึ่งมาจากที่ตัวมันเองถูกมองเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญของปัญหามลพิษทางอากาศจนถูกเหมาเรียกแทบจะเป็นเนื้อเดียวกันกับปัญหามลพิษทางอากาศช่วงฤดูแล้งของภาคเหนืออย่างปัญหา “ไฟป่าหมอกควัน” ที่ส่งผลกระทบโดยตรงกับสิ่งแวดล้อม กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสุขภาพของผู้คนอย่างสาหัส โดยเฉพาะภาคเหนือที่เต็มไปด้วยพื้นที่ป่าลักษณะต่างๆ กว่า 64% ของภูมิภาค ย่อมเป็นเงื่อนไขใหญ่ที่สัมพันธ์กับสถานการณ์ดังกล่าวอย่างเลี่ยงไม่ได้
การระบาดของโควิด-19 ทำให้กิจกรรมของมนุษย์หยุดนิ่ง การปล่อยมลพิษลดลง ท้องฟ้าสะอาดขึ้น ถนนไม่มีควัน สิงสาราสัตว์ออกมาเพ่นพ่านในเมือง เหมือนกำลังทวงคืนบ้านของพวกมันคืนจากมนุษย์
โดย – สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในเดือนมีนาคมถึงเมษายนของทุกปีถือเป็นช่วงเวลาที่นกเงือกเข้าสู่ฤดูผสมพันธุ์ โดยนกเงือกเริ่มจับคู่และเสาะหาโพรงรังที่เหมาะสมเพื่อให้ตัวเมียออกไข่-ฟักไข่ ทว่าแม้ในป่าฮาลา–บาลา อ.แว้ง จ.นราธิวาส ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นผืนป่าที่อุดมสมบูรณ์อย่างมาก สัตว์โบราณอย่างนกเงือกยังต้องเผชิญภาวะ ‘การขาดแคลนโพรงรัง’ หนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ทำให้จำนวนประชากรนกเงือกลดลง
โดย – สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในเดือนมีนาคมถึงเมษายนของทุกปีถือเป็นช่วงเวลาที่นกเงือกเข้าสู่ฤดูผสมพันธุ์ โดยนกเงือกเริ่มจับคู่และเสาะหาโพรงรังที่เหมาะสมเพื่อให้ตัวเมียออกไข่-ฟักไข่ ทว่าแม้ในป่าฮาลา–บาลา อ.แว้ง จ.นราธิวาส ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นผืนป่าที่อุดมสมบูรณ์อย่างมาก สัตว์โบราณอย่างนกเงือกยังต้องเผชิญภาวะ ‘การขาดแคลนโพรงรัง’ หนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ทำให้จำนวนประชากรนกเงือกลดลง
มีเสียงวิจารณ์กันให้แซดว่าไฟป่าที่เชียงใหม่เลวร้าย เพราะรัฐราชการรวมศูนย์ รวบอำนาจสั่งการจากส่วนกลางทำให้แก้ปัญหาล่าช้า มีเสียงเรียกร้องให้หน่วยงานส่วนท้องถิ่นมีอำนาจดูแลตัวเองมากขึ้นเพื่อจะได้จัดการไฟป่าได้รวดเร็วทันท่วงที
HIGHLIGHTS วันที่ 30 มีนาคม 2563 สถิติล่าสุด อิตาลี มีจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคโควิด-19 มากเป็นอันดับ 1 ของโลก จำนวน 10,779 ราย ตามมาด้วย สเปน 6,803 ราย จีน 3,304 ราย อิหร่าน …
นักวิทยาศาสตร์ยืนยันแล้วว่าโรคระบาดครั้งนี้ไม่ได้เกิดจากตัดต่อพันธุกรรมและไม่ใช่อาวุธชีวภาพ แต่มันก็ไม่ได้เกิดจากธรรมชาติแบบ 100% แต่ธรรมชาติถูกมนุษย์คุกคามจนปลดปล่อยพลังแห่งการทำลายล้างออกมาต่างหาก มันอาจจะฟังดูเหมือนหนังไซไฟ แต่มีบางคนคิดแบบนี้จริงๆ Inger Andersen หัวหน้าของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) เชื่อว่าธรรมชาติกำลังส่งสารถึงเราพร้อมกับการระบาดใหญ่ของโคโรนาไวรัสและวิกฤตสภาพอากาศที่กำลังดำเนินอยู่
ท่ามกลางการต่อสู้กับโควิด-19 ยังมีคนที่ไม่ลืมว่าเรายังมีปัญหาใหญ่ที่ต้องแก้ไขไปพร้อมๆ กัน Helen Regan เป็นโปรดิวเซอร์ฝ่ายดิจิทัลของ CNN เขียนบทความเอาไว้ว่า “โลกกำลังรวมตัวกันเพื่อต่อสู้กับโคโรนาไวรัส เราสามารถทำเช่นเดียวกันสำหรับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ”
ตั้งแต่สมัยเป็นคอลัมนิสต์ ผมเขียนลงในหนังสือพิมพ์หลายครั้งหลายหน ในระดับ “เพ้อ” เลยทีเดียว พร่ำพูดถึงความดีความงามของ “บ่อนกแก่งกระจาน” อันเป็น “โมเดลการอนุรักษ์” ที่สุดยอดอันหนึ่ง เท่าที่เมืองไทยเคยมีมา