จากกรณีโศกนาฏกรรมในหมู่บ้านซากมู เมืองพากัน รัฐคะฉิ่น ทางตอนเหนือของเมียนมาเมื่อเหมืองหยกเกิดถล่มพร้อมด้วยคลื่นกระแสน้ำและดินโคลนทับชาวเมืองไปต่อหน้าต่อตา ข้อมูลจากเมื่อวันที่ 3 ก.ค. 2563 พบผู้เสียชีวิตอย่างน้อยแล้ว 162 คนในดินถล่มที่เหมืองหยก
Article
อาคารดังกล่าว (บอมเบย์ เบอร์มา) คือศูนย์การเรียนรู้การป่าไม้ อยู่ในการดูแลของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่เพิ่งได้รับการอนุมัติให้จัดตั้งเป็นสวนรุกชาติเชตวัน ในปี พ.ศ. 2559 เนื่องจากเป็นสถานที่เก่าแก่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์การทำไม้ของประเทศไทย
เมื่อวันที่ 9 มิ.ย. 2563 คณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้มีมติเห็นชอบการจัดตั้ง “ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ” หน่วยงานเฉพาะทางสังกัด สวทช. ทำหน้าที่วิจัยพัฒนาและสร้างความมั่นคงด้านพลังงานในอนาคต
แม้จะเกษียณจากหน้าที่การงานมาตั้งแต่ปี 2544 แต่ “ชูเกียรติ รอดสวัสดิ์” อดีตผู้ช่วยผู้อำนวยการเขื่อนศรีนครินทร์ก็ยังไม่ยอมหยุดพักผ่อนอยู่กับบ้าน เขากลับมุ่งมั่นนำความรู้และประสบการณ์การปลูกป่าและการสร้างฝายธรรมชาติมาพัฒนาชุมชนเมืองให้กับกรุงเทพมหานคร
หลายชั่วคนก่อน บริเวณป่าพรุทางตอนเหนือของทะเลสาบสงขลามีช้างประเภทหนึ่งรูปร่างของมันเล็กแกรน ตัวขนาดเท่าหมูหรือเรียกว่า “ช้างค่อม” หรือช้างแคระ ซึ่งช้างแคระปัจจุบันพวกมันเป็นอดีตไปแล้ว ช้างค่อมเป็นสัตว์ที่สูญพันธุ์จากไทยไปตลอดกาล
เพราะโลกที่ร้อนขึ้นจึงทำให้น้ำทะเลที่สูงขึ้นและชายฝั่งถูกทำลายมากขึ้น บางพื้นที่จึงแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยการสร้างเขื่อนป้องกันชายฝั่ง หรือที่เรียกว่า Breakwater (แนวสกัดคลื่น) หรือ Revetment (พนัง) หรือ Seawall (กำแพงชายฝั่ง) การป้องกันชายฝั่งมีความจำเป็นมากในบางประเทศ เช่น ญี่ปุ่นมีข้อมูลว่าอย่างน้อย 43% ของชายฝั่งทะเลของญี่ปุ่นความยาว 29,751 กม. เรียงรายไปด้วยกำแพงคอนกรีตหรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ที่ออกแบบมาเพื่อปกป้องชายฝั่งจากคลื่นสูง พายุไต้ฝุ่น หรือสึนามิ
แน่นอนว่าการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 กลายเป็นวิกฤตโลกจนสร้างผลกระทบกับให้กับทุกระบบ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และสุขอนามัย แต่นัยหนึ่งยังมีสิ่งดีๆ ให้กับโลก คือการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่เป็นไปในทางที่ดีขึ้น ในด้านของการหยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมา การเดินทางทั้งในประเทศและต่างประเทศหยุดลง ทำให้เกิดการฟื้นตัวของสภาพแวดล้อม และระบบนิเวศกลับคืนมาในหลายๆ พื้นที่
อาจารย์ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง จากภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นักวิชาการด้านชายฝั่งทะเลที่เกาะติดเรื่องนี้มาอย่างต่อเนื่องยาวนานและอยู่ในคณะอนุกรรมการบูรณาการด้านการจัดการการกัดเซาะชายฝั่งทะเล ยืนยันว่าเขาไม่เห็นด้วยกับกำแพงกันคลื่น โดยมี “เหตุผล 10 ประการของคนไม่เอากำแพงกันคลื่น” สนับสนุน ดังนี้
• เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2563ทางการเมืองอู่ฮั่นออกคำสั่งห้ามกินเนื้อสัตว์ป่าและมีบทลงโทษผู้ฝ่าฝืน ซึ่งถือเป็นนิมิตหมายที่ดี (ที่อาจจะช้าไปสักหน่อย) สำหรับเมืองที่เป็นจุดเริ่มต้นของการระบาดของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ • แต่คำสั่งของอู่ฮั่นมีระยะเวลาดำเนินการแค่ 5 ปีแล้วจะค่อยยทบทวนอีกครั้ง ซึ่งหมายความว่าหลังจากนั้น 5 ปีถ้าเรื่องซาลงแล้ว อู่ฮั่นก็อาจจะกลับมากินเนื้อสัตว์ป่ากันอีก
จะขอเล่าว่าตอนก่อนจะสร้างเขื่อนไซยะบุรีคณะกรรมการแม่น้ำโขงเริ่มกระบวนการพิจารณาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 เป็นเขื่อนแรกที่ภูมิภาคแม่น้ำโขงร่วมกันตัดสินใจ แต่ในเดือนเมษายน 2554 สมาชิกตกลงกันไม่ได้และเสนอกันว่าควรจะยืดกระบวนการต่อไป