นักวิทยาศาสตร์ร่วมกันพัฒนาหุ่นยนต์ขนาดเล็กที่ขับเคลื่อนด้วยการแลกเปลี่ยนไอออนที่ไม่บริสุทธิ์ในน้ำ เพื่อกำจัดไมโครพลาสติกและนาโนพลาสติก (MNPs) ออกจากน้ำ โดยตัวหุ่นยนต์มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 20-100 ไมครอน ซึ่งบางกว่าเส้นผมมนุษย์ และสามารถทำงานได้โดยไม่ต้องป้อนพลังงานเพิ่ม
Article
ทุ่นผลิตน้ำจืดจากทะเลหรือสกัดแยกเกลือออกจากน้ำทะเลนี้ทำจากขวดพลาสติกรีไซเคิล 170,000 ขวด ใช้พลังงานคลื่นเป็นตัวขับเคลื่อนขณะที่ลอยอยู่ในมหาสมุทร สามารถสร้างน้ำจืดได้มากถึง 50,000 ลิตร ต่อวัน ในขณะที่ปล่อยน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นน้อยกว่าเครื่องสกัดเกลือออกจากน้ำทะเลแบบอื่น
กรุงเทพฯ เป็นเมืองที่มีความเสี่ยงจมน้ำอันดับที่ 5 แต่ถ้าจะย้ายเมือง มาจากปัญหารถติดมากกว่าน้ำท่วม หวังว่าย้ายเมืองแล้วจะดี แต่ปัญหาจริงๆ อาจจะไม่ใช่เรื่องภูมิศาสตร์ แต่เป็นเรื่องนิสัยคน การย้ายเมืองจึงไม่ใช่ง่าย เพราะเป็นการย้ายทั้งคน เศรษฐกิจ และตลาดแรงงาน
ในขณะที่ทั่วโลกกำลังรู้สึกถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อน แต่ ‘ตูวาลู’ ประเทศเกาะเล็กๆ ในตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกกำลังเผชิญผลกระทบหนักที่สุด แม้ตูวาลูจะมีประชากรราว 12,000 คน แต่ประชากรเหล่านี้กำลังทุกข์ทรมานกับอนาคตอันใกล้ที่จะไร้ซึ่งแผ่นดินอาศัย
เรื่องนี้เกี่ยวข้องกับสังคมการเมืองเศรษฐกิจโลก ซึ่งกระแสสีเขียวหรือฟอกเขียวที่เป็นกระแสใหญ่ที่สุดที่ถูกนำมาใช้เคลือบทุกสิ่งทุกอย่าง ดังนั้นทุกบริษัท ทุกกลุ่มทุน ทุกรัฐจะประกาศว่าจะบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน
ใกล้สิ้นปีหลายคนเริ่มวางแผนจัดทริปส่งท้ายปีเก่า หรือแผนล่วงหน้าสำหรับปีถัดไป IGreen มี 5 เมืองสีเขียวมาให้เป็นทางเลือกสำหรับการออกไปเติมพลังชีวิตแบบเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ส่วนคนที่ยังไม่มีแพลนได้ไป (เหมือนอย่างพวกเรา IGreen) ก็เที่ยวทิพย์กันไปก่อนแล้วกัน
บทเรียน ‘ปลาข่า’ แห่งลุ่มน้ำโขง
สูญพันธุ์จากประเทศลาวแล้ว
ข้อคิดการอนุรักษ์โลมาอิระวดีทะเลสงขลา
บทเรียนที่ดีสำหรับการอนุรักษ์โลมาอิระวดีในทะเลสาบสงขลา ก็คือโลมาอิรวดีน้ำจืดตัวสุดท้ายที่อาศัยอยู่ในแม่น้ำโขงบริเวณพรมแดน สปป.ลาว และกัมพูชาด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือที่ได้เสียชีวิตไป เมื่อวันที่ 15 ก.พ. ที่ผ่านมา หลังจากติดอวนจับปลาของชาวบ้าน ซึ่งเป็นเรื่องน่าหดหู่ของนักอนุรักษ์อย่างมาก
ประชากรปูหิมะในทะเลแบริ่งต่ำของอะแลสกาต่ำกว่าเกณฑ์จากการทำประมงเชิงพาณิชย์ที่ต่อเนื่องและล้นเกิน โดยข้อมูลของ Benjamin Daly ระบุว่า ตัวเลขปูหิมะลดลงจากประมาณ 8,000 ล้านตัวในปี 2018 เหลือแค่ 1,000 ล้านตัวในปี 2021 นักวิทยาศาสตร์ระบว่า สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการประมงที่จับปูมากเกินไป และที่สำคัญเนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่อุ่นขึ้นจากภาวะโลกร้อน โดยอุณหภูมิรอบๆ อาร์กติกอุ่นขึ้นเร็วกว่าส่วนอื่นๆ ของโลกถึง 4 เท่า ทำให้ภูมิภาคอาร์กติกสูญเสียน้ำแข็งในทะเลอย่างรวดเร็ว …