Article

ชาติมหาอำนาจต่อกรณี ‘เกรต้า’
นักการเมืองไม่สนใจฟังเจ้าของอนาคต

นิตยสาร Time ฉบับเดือนพฤษภาคม 2562 ยกย่องให้เกรต้า ธันเบิร์ก เป็นหนึ่งในผู้นำรุ่นใหม่ และเธอยังเป็นแนวหน้าของคนรุ่นใหม่ในการสื่อสารกับผู้นำโลกให้ลงมือทำจริง ๆ จัง เพื่อสกัดกั้นวิกฤตจากความเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโลก แต่ปฏิกิริยาของบรรดาผู้นำโลกต่อเกรต้านั้นรุนแรงพอ ๆ กับที่เธอโจมตีพวกเขา นอกจากผู้นำระดับโลกจะไม่ยอมฟังเสียงเธอแล้ว ยังตำหนิเธออย่างรุนแรง แต่ก็มีผู้นำและนักการเมืองจำนวนหนึ่งที่รับฟังและเห็นด้วยกับการรณรงค์ของเธอ

Read more

ความมั่นคงอาหารมนุษย์เข้าสู่วิกฤต
ผู้คน 124 ล้านคนทั่วโลกเสี่ยงหิวโหย

ในปี พ.ศ. 2562 เป็นปีที่มีการเผยแพร่รายงานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่คึกคักที่สุดปีหนึ่ง ทว่า รายงานแต่ละชิ้นไม่ได้ทำให้วงการวิทยาศาสตร์คึกคักไปด้วย เพราะทุกฉบับเตือนเราว่าสถานการณ์กำลังน่าเป็นห่วง โลกร้อนกำลังทำลายองค์ประกอบทุกอย่างของโลก ไม่เฉพาะแค่สภาพอากาศ แต่ยังรวมถึง ดิน ทะเล และไฟป่าที่เกิดถี่ขึ้น และเมื่อองค์ประกอบเหล่านี้เสื่อมถอยลง มนุษย์จึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะได้รับผลกระทบ

Read more

เปิดเส้นทางอพยพ ‘เหยี่ยวนกเขา’
สู่การร่วมอนุรักษ์ในภูมิภาคอาเซียน

“เขาดินสอ” ต.บางสน อ.ปะทิว จ.ชุมพร สูงจากระดับน้ำทะเล 350 เมตร ซึ่งเป็นหมุดหมายของ “นักดูนก” ของประเทศในเอเชีย สหรัฐอเมริกาและยุโรป ต่างเดินทางมาท่องเที่ยวดูนกเป็นประจำทุกปีตั้งแต่เดือนเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายน จนทำให้ “เขาดินสอ” ติดอันดับจุดดูเหยี่ยวและนกอพยพที่ดีที่สุด 1 ใน 5 ของโลก

Read more

รายงานวิทยาศาสตร์  อาวุธคู่กาย
ของ ‘เกรต้า’ ที่ผู้นำโลกไม่ฟัง

หลายคนอาจจะเพิ่งรู้จัก เกรต้า ธันเบิร์ก (Greta Thunberg) จากปาฐกถาอันร้อนแรงและดุดันของเธอในการประชุม Climate Action โดยเฉพาะวลีสั้น ๆ ที่กัดกินหัวใจว่า “How dare you?” เมื่อเธอตั้งคำถามต่อนักการเมืองและผู้นำโลกที่สนใจกับเรื่องการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากกว่าหายนะจากปัญหาโลกร้อน แต่เด็กสาวชาวสวีเดน วัย 16 นักเคลื่อนไหวด้านปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสหภาพอากาศรายนี้ไม่ได้พูดด้วยอารมณ์ทุกครั้ง และเกือบทุกครั้งเธอจะยกสถิติและรายงานทางวิทยาศาสตร์ขึ้นมายืนยันในสิ่งที่เธอต้องการให้ชาวโลกได้ตระหนัก

Read more

การคุมอุณหภูมิโลกไม่เกิน 1.5°C
ชาติทั่วโลกต้องออกแรงมากถึง 5 เท่า

แนวโน้มเศรษฐกิจและพลังงานในปัจจุบัน ชี้ให้เห็นว่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปี 2019 อย่างน้อยจะสูงเท่ากับปี 2018 คาดว่า GDP โลกจะเติบโต 3.2% ในปี 2019 และแม้ว่าเศรษฐกิจโลกลดการปล่อยก๊าซลงในอัตราเดียวกับในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา อัตราการปล่อยก๊าซทั่วโลกก็ยังจะเพิ่มขึ้นอยู่ดี

Read more

โลกร้อนสุดๆ แผ่นน้ำแข็งละลาย
ก๊าซเรือนกระจกพุ่งพรวด

ที่ประชุม Climate Action Summit ล่าสุดได้มีการรวบรวมข้อมูลจากรายงานหลาย ๆ ชิ้น โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับสถานะของสภาพภูมิอากาศ และการแสดงแนวโน้มของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกหลัก ๆ ในชั้นบรรยากาศ แสดงให้เห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วน เพื่อป้องกันไม่ให้อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้น และยังชี้แนวทางในการบรรเทาสถานการณ์ด้วย

Read more

20 ค่ายน้ำมันยักษ์โลก
ตัวการก่อภาวะโลกร้อน

ข้อมูลใหม่จากนักวิจัยระดับโลกเผยให้เห็นว่ากลุ่มบริษัทของรัฐและบรรษัทข้ามชาติเป็นตัวการสร้างสถานการณ์ฉุกเฉินด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่คุกคามอนาคตของมนุษยชาติ เดอะ การ์เดียน สื่อของอังกฤษ เปิดเผย 20 บริษัทผลิตเชื้อเพลิงที่มีสัดส่วนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดของโลก โดยพวกเขายังมีการขยายการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง แม้จะตระหนักดีถึงผลกระทบที่ร้ายแรงต่อโลกอย่างไร

Read more

ขยะทะเล…ขยะที่ไม่ได้มาจากทะเล

ร้อยละ 80 ของขยะทะเลมีต้นทางมาจากบนบก หากเปรียบเส้นทางขยะบกสู่ทะเล คงเทียบได้กับการจัดการตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ที่ต้นทางมาจากครัวเรือนและคนไทยทุกคน ระหว่างทางคือการบริหารจัดการขยะทั้งกระบวนการจัดเก็บ และการทำลายโดยองค์กรท้องถิ่น ส่วนปลายทางคือแม่น้ำ ลำคลอง ซึ่งเป็นเสมือนสายพานลำเลียงขยะที่เล็ดลอดออกมาจากระหว่างทางลงสู่ทะเลและมหาสมุทร   

Read more

นักอนุรักษ์ซื้อสวนป่าซีคัวยา
ปกป้องภัยจากภาวะโลกร้อน

กลุ่มนักอนุรักษ์วางแผนระดมทุนซื้อสวนป่าซีคัวยา (Sequoia) ซึ่งเป็นต้นไม่ที่ใหญ่ที่สุดในโลก มูลค่ากว่า 400 ล้านบาท บนที่ดินเอกชนเพื่อปกป้องระบบนิเวศจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซีคัวยาพืชตระกูลสนสายพันธุ์เรดวู้ด (Redwood) ซึ่งเป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคจูราสสิคจากการค้นพบฟอสซิลที่มีอายุมากกว่า 200 ล้านปี

Read more

ไขปริศนา ‘ไมโครพลาสติก’
เสี่ยงโรค-ก่อมะเร็ง?

นับเป็นปรากฎการณ์ครั้งสำคัญในระดับภูมิภาคด้านการศึกษาวิจัยผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมทางทะเลจาก “ไมโครพลาสติก” ที่มีต้นกำเนิดจากขยะพลาสติกบนบกที่ไหลลงสู่ทะเล กลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม นั่นเป็นที่มาของโครงการความร่วมมือระหว่างรัฐบาลญี่ปุ่น – ไทย โดยมีองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น หรือ ไจก้า ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำอีก 7 แห่งของญี่ปุ่นที่เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อมให้การสนับสนุนการทำวิจัย

Read more