อุณหภูมิสูงกระทบเด็กไทยกว่า 10 ล้าน ซูดานเผชิญร้อนจัด 195 วันต่อปี
การเผชิญกับคลื่นความร้อนของเด็กที่ถี่ขึ้นและยาวนานขึ้นจะเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพไม่ว่าโรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง โรคหอบหืด และโรคหลอดเลือดหัวใจ
การเผชิญกับคลื่นความร้อนของเด็กที่ถี่ขึ้นและยาวนานขึ้นจะเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพไม่ว่าโรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง โรคหอบหืด และโรคหลอดเลือดหัวใจ
นักวิทยาศาสตร์ในเยอรมนีค้นพบชนิดของแบคทีเรียและเชื้อราที่สามารถสลายพลาสติกสังเคราะห์ได้ ซึ่งอาจเป็นอาวุธใหม่ในการต่อสู้กับมลพิษพลาสติกทั่วโลก
แผ่นดินบนเกาะซิซิลีของอิตาลีกำลังกลายเป็นทะเลทราย แม้แต่ “โอเอซีส” ที่เป็นพื้นที่สีเขียวอันอุดมสมบูรณ์ทั่วโลกก็กำลังถูกคุกคาม
การลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการปรับตัวสู้ภัยโลกร้อนยังล่าช้า และห่างไกลเป้าหมายความตกลงปารีสที่จะคุมอุณหภูมิไม่ให้เกิน 1.5 องศา
วิกฤตโลกร้อนส่งผลให้ “กระแสน้ำมหาสมุทร” ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเกิดความผิดปกติ และอาจนำไปสู่การล่มสลายภายในศตวรรษนี้? กระแสน้ำมหาสมุทร คือ ประเด็นใหญ่ที่นักวิทยาศาสตร์กำลังจับตาและกังวล.ว่า มันระบบการไหลเวียนกำลังเดินเข้าสู่จุดจบหรือไม่ แต่ก่อนอื่นต้องเข้าใจกันก่อนว่า กระแสน้ำมหาสมุทรเป็นกลไกทางธรรมชาติในการควบคุมอุณหภูมิโลก ที่ทำให้ประเทศในแถบละติจูดสูงๆ ไม่ให้แตกต่างจากประเทศในแถบร้อนมากจนเกินไป ซึ่งเป็นกลไกมาจากกระแสน้ำในมหาสมุทรที่เกิดจากแรงดันของเกลือที่เรียกว่า กระแสน้ำเทอร์โมฮาไลน์ (Thermohaline Circulation) กระแสน้ำที่ว่านี้จะไหลเวียนไปในทุกๆ มหาสมุทรสำคัญของโลกเปรียบเสมือนสายพานลำเลียงขนาดยักษ์ (Global Conveyor Belt) ที่พัดพาน้ำอุ่นจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรไปแลกเปลี่ยนกับน้ำเย็นจากแถบขั้วโลกเป็นวงจรไปกลับ…
ธุรกิจสายการบินตกเป็นผู้ร้ายฐานมีส่วนปล่อยคาร์บอนเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นอุตสาหกรรมการบินทั่วโลกจึงเร่งปรับเปลี่ยนไปใช้น้ำมันยั่งยืน
การสร้าง “เมืองฟองน้ำ” เป็นแนวทางหนึ่งในการกักเก็บน้ำไว้บนหลังคาและแหล่งซับน้ำตามธรรมชาติ ซึ่งมีต้นแแบอยู่เมืองอัมสเตอร์ดัม และจีนกำลังสร้างบ้าง แต่ยังไม่สำเร็จ
ไทยใช้พลังงานหมุนเวียนร้อยละ 13.38 รั้งลำดับที่ 36 ของโลก ตามแผน PDP ได้กำหนดสัดส่วนพลังงานทดแทนไม่น้อยกว่า 50% แต่จะ Net Zero ได้จริงหรือไม่
คลื่นความร้อนจากอุณหภูมิที่ร้อนจัดส่งผลให้ประชาชนในแถบเมดิเตอร์เรเนียน เสี่ยงเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ล่าสุดกระทบต่อการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในกรุงปารีส
อาจารย์ธรณ์ไม่หวังพึ่งระบบราชการแก้โลกเดือด ด้านเอกชนรายใหญ่เข้าสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ แต่ยังติดกับดักจีดีพีที่มุ่งกำไร คนไทยต้องตัวใครตัวมัน