Article

ก๊าซเรือนกระจกสุดกู่ ‘กระแสน้ำมหาสมุทร’ รวน ภัยพิบัติถี่ขึ้น-รุนแรงขึ้น

วิกฤตโลกร้อนส่งผลให้ “กระแสน้ำมหาสมุทร” ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเกิดความผิดปกติ และอาจนำไปสู่การล่มสลายภายในศตวรรษนี้? กระแสน้ำมหาสมุทร คือ ประเด็นใหญ่ที่นักวิทยาศาสตร์กำลังจับตาและกังวล.ว่า มันระบบการไหลเวียนกำลังเดินเข้าสู่จุดจบหรือไม่ แต่ก่อนอื่นต้องเข้าใจกันก่อนว่า กระแสน้ำมหาสมุทรเป็นกลไกทางธรรมชาติในการควบคุมอุณหภูมิโลก ที่ทำให้ประเทศในแถบละติจูดสูงๆ ไม่ให้แตกต่างจากประเทศในแถบร้อนมากจนเกินไป ซึ่งเป็นกลไกมาจากกระแสน้ำในมหาสมุทรที่เกิดจากแรงดันของเกลือที่เรียกว่า กระแสน้ำเทอร์โมฮาไลน์ (Thermohaline Circulation) กระแสน้ำที่ว่านี้จะไหลเวียนไปในทุกๆ มหาสมุทรสำคัญของโลกเปรียบเสมือนสายพานลำเลียงขนาดยักษ์ (Global Conveyor Belt) ที่พัดพาน้ำอุ่นจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรไปแลกเปลี่ยนกับน้ำเย็นจากแถบขั้วโลกเป็นวงจรไปกลับ…

Read more

ไทยเริ่มใช้น้ำมัน SAF ปลายปี ก้าวสู่สายการบินรักษ์โลกลดปล่อยคาร์บอน

ธุรกิจสายการบินตกเป็นผู้ร้ายฐานมีส่วนปล่อยคาร์บอนเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นอุตสาหกรรมการบินทั่วโลกจึงเร่งปรับเปลี่ยนไปใช้น้ำมันยั่งยืน

Read more

‘อัมสเตอร์ดัม’ ต้นแบบเมืองฟองน้ำ จีนเร่งสร้างรับมือโลกรวนรุนแรง

การสร้าง “เมืองฟองน้ำ” เป็นแนวทางหนึ่งในการกักเก็บน้ำไว้บนหลังคาและแหล่งซับน้ำตามธรรมชาติ ซึ่งมีต้นแแบอยู่เมืองอัมสเตอร์ดัม และจีนกำลังสร้างบ้าง แต่ยังไม่สำเร็จ

Read more

พลังงานหมุนเวียนไทยลำดับ 36 โลก จะบรรลุเป้า Net Zero ได้จริงหรือ?

ไทยใช้พลังงานหมุนเวียนร้อยละ 13.38 รั้งลำดับที่ 36 ของโลก ตามแผน PDP ได้กำหนดสัดส่วนพลังงานทดแทนไม่น้อยกว่า 50% แต่จะ Net Zero ได้จริงหรือไม่

Read more

โลกร้อนรุนแรงมากขึ้น เสียชีวิตพุ่ง 5 ล้านคนต่อปี กระทบโอลิมปิกในปารีส

คลื่นความร้อนจากอุณหภูมิที่ร้อนจัดส่งผลให้ประชาชนในแถบเมดิเตอร์เรเนียน เสี่ยงเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ล่าสุดกระทบต่อการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในกรุงปารีส

Read more

โลกเดือด ‘ตัวใครตัวมัน’ พึ่งกลไกระบบราชการไม่ได้ เอกชน..มุ่งแต่กำไร

อาจารย์ธรณ์ไม่หวังพึ่งระบบราชการแก้โลกเดือด ด้านเอกชนรายใหญ่เข้าสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ แต่ยังติดกับดักจีดีพีที่มุ่งกำไร คนไทยต้องตัวใครตัวมัน

Read more

ควักงบรับซื้อปลาหมอคางดำ 30 ล้าน บทเรียนประมงน้ำจืดมูลค่าหมื่นล.

การรับซื้อปลาหมอคางดำ 2 ล้านกิโลกรัม วงเงิน 30 ล้านบาท เพียงพอต่อการแก้ปัญหาปลาเอเลียนที่ทำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาเดือดร้อนหรือไม่ นี่คือคำถาม

Read more

7 องค์กรยึดแนวทาง Nature-based Solutions แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก

การลดความรุนแรงวิกฤตสภาพอากาศไม่ต้องพึ่งความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์มากเสมอไป เพราะวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิผลที่สุดมาจากกลโกธรรมชาติที่มีอยู่

Read more

‘สิงคโปร์’ สายกรีน นำเข้าแมลง 16 ชนิดบริโภคในประเทศ ช่วยลดโลกร้อน

ในเร็วๆ นี้ตั๊กแตน ผีเสื้อกลางคืน จิ้งหรีด และหนอนแมลงจะเป็นเมนูอาหารในสิงคโปร์ และวางจำหน่ายในซูเปอร์มาร์เก็ต หลังรัฐบาลอนุมัติให้นำเข้า

Read more

คนมุ่งสู่เมือง 6,700 ล้าน? เร่งพัฒนาเมืองน่าอยู่ เพื่อบำรุงจิตวิญญาณ

การขยายตัวของเมืองและการเพิ่มขึ้นสร้างแรงกดดันต่อระบบนิเวศมากขึ้น แต่ก็มีแนวโน้มที่ชาวเมืองจะร่วมกันฟื้นฟูสภาพแวดล้อมของเมืองขึ้นมาใหม่

Read more