ข่าวดีและเป็นข่าวใหญ่สำหรับคนห่วงว่าโลกจะจมพลาสติก กลุ่มนักวิทยาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเทกซัสเมืองออสติน สหรัฐอเมริกา ได้สร้างเอนไซม์ดัดแปลงที่สามารถย่อยสลายพลาสติกได้ แทนที่จะต้องใช้เวลาหลายศตวรรษในการย่อยสลาย ก็สามาถสลายได้ภายในเวลาไม่กี่วัน
พ-Plastic
“ถนนพลาสติก” คือวิธีแก้ปัญหาพลาสติกที่ตรงไปตรงมาที่สุดแบบหนึ่ง คือการสร้างถนนประกอบด้วยยางมะตอยผสมกับขยะพลาสติกที่รวมอยู่ในส่วนผสมของยางมะตอย การนำพลาสติกไปใช้บนถนนยังเป็นการเปิดทางเลือกใหม่สำหรับการรีไซเคิลพลาสติกหลังการบริโภค
พบไมโครพลาสติกครั้งแรก
80% อยู่ในเลือดมนุษย์
เสี่ยงกระทบสุขภาพโดยไม่รู้ตัว
นักวิทยาศาสตร์วิเคราะห์ตัวอย่างเลือดจากผู้บริจาค 22 ราย ที่เป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดีทั้งหมด และพบอนุภาคพลาสติกใน 17 ตัวอย่าง ครึ่งหนึ่งของตัวอย่างมีพลาสติก PET ซึ่งใช้กันมากในขวดเครื่องดื่ม บรรจุภัณฑ์อาหารและเสื้อผ้าเป็นพลาสติกรูปแบบที่แพร่หลายที่สุดในกระแสเลือดของมนุษย์ที่มีการศึกษา
เครื่องดื่มขวดพลาสติกรีไซเคิล
ปนเปื้อนสารเคมีเกินค่ามาตรฐาน
แนะปรับปรุงวิธีนำกลับมาใช้ใหม่
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยบรูเนลลอนดอนพบสารเคมี 150 ชนิดที่ชะล้างลงในเครื่องดื่มจากขวดพลาสติก โดย 18 รายการของสารเคมีนั้นอยู่ในระดับเกินมาตรฐาน พร้อมเตือนว่าจำเป็นต้องมีการรีไซเคิลขวดที่ได้คุณภาพขึ้นเพื่อช่วยขจัดสารเคมีที่อาจเป็นอันตราย
คณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 15 ก.พ. ที่ผ่านมาได้มีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) เสนอร่างแผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะพลาสติก ระยะที่ 1 พ.ศ. 2563 – 2565 เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหาขยะพลาสติกที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่ต้องเร่งดำเนินการภายใต้ Roadmap การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561-2573
ถกแก้ปัญหาขยะพลาสติก
ผลักดันสนธิสัญญาระดับโลก
คุมการผลิตและเพิ่มการรีไซเคิล
ผู้แทนจาก 193 ประเทศสมาชิกสหประชาชาติ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ จะเข้าร่วมประชุมด้านสิ่งแวดล้อมของสหประชาชาติ (UN) ทางออนไลน์ระหว่างวันที่ 28 ก.พ.ถึง 2 มี.ค.นี้ ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงไนโรบี ประเทศเคนยา เพื่อเตรียมการในการยกร่างสนธิสัญญาระดับโลกฉบับแรกว่าด้วยการต่อต้านขยะพลาสติก
ในช่วง 50 ปีที่ผ่านมามีการใช้ขวดพลาสติกเพิ่มมากขึ้น มีการซื้อสินค้าที่มีบรรจุภัณ์เป็นขวดพลาสติกเกือบ 1 ล้านขวดทั่วโลกในทุกนาที และขวดพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งก็ไหลไปกองรวมกันอยู่ในมหาสมุทร ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เกิดภาพขยะพลาสติกเกลื่อนชายหาด และพบว่าสัตว์ที่ตายลงมีพลาสติกติดอยู่ในท้องของมัน ข้อมูลจาก Euromonitor International ระบุว่ามีการขายขวด PET หรือโพลีเอทิลีน เทเรฟทาเลต (Poly-Ethylene Terphthalate) ที่ใช้ผลิตขวดสำหรับบรรจุเครื่องดื่ม น้ำอัดลม น้ำผลไม้ …
ในบรรดามลพิษจากพลาสติก รู้หรือไม่ว่าก้นบุหรี่เป็นมลภาวะพลาสติกอันดับ 1 โดยในปัจจุบันมีการทิ้งก้นบุหรี่ประมาณ 4.5 ล้านล้านชิ้นเลยทีเดียว มันเป็นสิ่งที่ทิ้งง่าย แต่เก็บยาก แต่ผู้คนก็ไม่หยุดหาวิธีที่จะกำจัดมัน ล่าสุดบริษัท Corvid Cleaning ในสวีเดนสามารถฝึก “อีกา” ให้มาช่วยเก็บก้นบุหรี่กันแล้ว