พ-Plastic

ไมโครพลาสติกอันตรายต่อมนุษย์
‘อ่าวไทยตัว ก’ เสี่ยงปนเปื้อนกว่าที่อื่น (จบ)

รศ.ดร.ประวิทย์ โตวัฒนะ คณะวิจัยการปนเปื้อนของไมโครพลาสติกในทะเล สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เปิดเผย igreen ว่า ผลงานวิจัยของคณะวิจัยการปนเปื้อนของไมโครพลาสติกในทะเล จากสถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มหาลัยวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 2 เรื่อง มีดังนี้ 1) จากการศึกษาโดยการเก็บตัวอย่างปลาเศรษฐกิจที่วางจำหน่ายในตลาดสดจำนวน 165 ตัวอย่าง และ 2) จากการศึกษาโดยการเก็บตัวอย่างปลาเศรษฐกิจที่วางจำหน่ายในตลาดสด

Read more

ขยะทะเล…ขยะที่ไม่ได้มาจากทะเล

ร้อยละ 80 ของขยะทะเลมีต้นทางมาจากบนบก หากเปรียบเส้นทางขยะบกสู่ทะเล คงเทียบได้กับการจัดการตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ที่ต้นทางมาจากครัวเรือนและคนไทยทุกคน ระหว่างทางคือการบริหารจัดการขยะทั้งกระบวนการจัดเก็บ และการทำลายโดยองค์กรท้องถิ่น ส่วนปลายทางคือแม่น้ำ ลำคลอง ซึ่งเป็นเสมือนสายพานลำเลียงขยะที่เล็ดลอดออกมาจากระหว่างทางลงสู่ทะเลและมหาสมุทร   

Read more

ไขปริศนา ‘ไมโครพลาสติก’
เสี่ยงโรค-ก่อมะเร็ง?

นับเป็นปรากฎการณ์ครั้งสำคัญในระดับภูมิภาคด้านการศึกษาวิจัยผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมทางทะเลจาก “ไมโครพลาสติก” ที่มีต้นกำเนิดจากขยะพลาสติกบนบกที่ไหลลงสู่ทะเล กลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม นั่นเป็นที่มาของโครงการความร่วมมือระหว่างรัฐบาลญี่ปุ่น – ไทย โดยมีองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น หรือ ไจก้า ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำอีก 7 แห่งของญี่ปุ่นที่เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อมให้การสนับสนุนการทำวิจัย

Read more

GC Compostable Label
ฉลากเพื่อคนรักษ์โลก

ขยะพลาสติกกลายเป็นเรื่องใหญ่ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจนทำให้ทั่วโลกต่างหาแนวทางแก้ไข รวมถึงประเทศไทยที่สร้างขยะพลาสติกกว่าถึงปีละ 2 ล้านตัน  ส่งผลให้ทุกภาคส่วนต้องหันมาร่วมมือ  เพื่อบูรณาการมาตรการต่าง ๆ ที่จะทำให้เกิดการลด และเลิกการใช้พลาสติกในระยะยาว

Read more

รีไซเคิลแบบนอร์เวย์
โมเดลเมืองไร้ขยะ (ขวด) พลาสติก

การจัดการขยะพลาสติกถูกยกระดับเป็นปัญหาในระดับอาเซียนและระดับโลก เพราะแต่ละประเทศต่างเห็นพ้องต้องกันว่ามหันตภัยจากพลาสติกได้ส่งผลร้ายแรงต่อระบบนิเวศ ตลอดจนการดำรงชีวิตของมนุษย์ โจทย์ใหญ่ก็คือแต่ละประเทศไทยจะใช้กลไกอะไรในการจัดการไม่ให้ขยะเหล่านี้หลุดรอดกลายเป็นมลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อมหรือถึงจะมีก็ให้น้อยที่สุด ซึ่งบางประเทศสำเร็จมาแล้ว

Read more

ผลิตพลาสติกชีวภาพจากเปลือกล็อบสเตอร์

เมื่อศตวรรษก่อน สหรัฐอเมริกามีล็อบสเตอร์อยู่จำนวนมาก จนนำไปใช้เป็นอาหารเลี้ยงคนงาน และถูกเรียกว่าอาหารของคนยากไร้ แต่ปัจจุบันล็อบสเตอร์กลายเป็นอาหารที่มีราคาแพงขึ้น ทำให้มันเลื่อนสถานะจากอาหารของคนยากไร้ กลายเป็นอาหารของคนชั้นกลาง หรือในบางประเทศมันคืออาหารฟุ่มเฟือยของคนมีเงิน ดังนั้นเนื้อของล็อบสเตอร์จึงเป็นที่ปรารถนาของนักชิมจำนวนมาก

Read more

คนนับล้านตายเพราะพลาสติก…ใครจะรับผิดชอบ?

ไม่เพียงผลกระทบต่อโลกธรรมชาติ รายงานฉบับใหม่นี้จะทำให้ผู้คนได้ตระหนักถึงภัยของเสียและมลพิษพลาสติกต่อชีวิตมนุษย์ โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา ทุกๆ ปีมีคนทั่วโลกนับล้านเสียชีวิต ซึ่งรัฐบาลและบริษัทสินค้าอุปโภคบริโภครายใหญ่ควรต้องออกมาร่วมรับผิดชอบ

Read more

EIC วิเคราะห์ความท้าทาย
จากมาตรการลดใช้พลาสติก

ประเทศไทยกำลังประสบปัญหาขยะพลาสติกที่มีปริมาณสูงขึ้นต่อเนื่องโดยไทยติดอันดับ 6 ของโลก ที่มีการทิ้งขยะพลาสติกลงสู่ทะเลมากที่สุด คิดเป็นปริมาณราว1.3 ล้านตันต่อปี ทำให้ในปี 2018 ภาครัฐ จึงได้ออกมาตรการลดและยกเลิกการใช้พลาสติกซึ่งเป็นหนึ่งในนโยบายเพื่อลดปริมาณขยะภายในประเทศ

Read more

เมื่อไหร่? จะเลิก (คบ) ซ้อนถุงซะที

ผู้บริโภคที่เข้าๆ ออกๆ ใช้บริการซื้อสินค้าร้านสะดวกซื้อบ่อยๆ จะสังเกตพบว่าพนักงานมักนำสินค้าที่เราซื้อใส่ถุงให้แทบทุกครั้ง (ยกเว้นของชิ้นเล็กเพียง 1 ชิ้น)

Read more