โลกจมกองพลาสติก ต้องเปลี่ยนวิธีผลิต ลดการบริโภค กำจัดอย่างยั่งยืน
พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งเป็นขยะที่มีจำนวนมาก กระจายไปทั่วโลก โดยเฉพาะไหลไปกองรวมกันในมหาสมุทร ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของมนุษย์
พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งเป็นขยะที่มีจำนวนมาก กระจายไปทั่วโลก โดยเฉพาะไหลไปกองรวมกันในมหาสมุทร ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของมนุษย์
นักวิทยาศาสตร์ในเยอรมนีค้นพบชนิดของแบคทีเรียและเชื้อราที่สามารถสลายพลาสติกสังเคราะห์ได้ ซึ่งอาจเป็นอาวุธใหม่ในการต่อสู้กับมลพิษพลาสติกทั่วโลก
ทุกคนสามารถลดขยะจาก “ซองเครื่องปรุง” ได้ โดยการปฏิเสธกับร้านค้า แต่ใครรับมาแล้ว แต่ไม่ได้ใช้ สามารถส่งไปผลิตเป็นพลังงานได้
“พัชรวาท” ประกาศเจตนารมณ์ร่วมกับผู้ประกอบการใน “วันปลอดถุงพลาสติกสากล” 3 ก.ค. หนุนเอกชนชูแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน มุ่งสู่เป้าหมาย Net Zero
3 ก.ค. ของทุกปี คือ “วันปลอดถุงพลาสติกสากล” ซึ่งหน่วยงานทุกองค์กรออกมารณรงค์กันไม่รู้จักเหน็ดเหนือย แต่ขยะพลาสติกกลับเพิ่มมากขึ้น
การผลิตพลาสติกที่เพิ่มปริมาณขึ้นอย่างมากได้ก่อให้เกิดวิกฤตสิ่งแวดล้อมโลกหลายด้าน ทั้งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มลภาวะ และมลพิษอากาศ
ปูเสฉวน 2 ใน 3 สายพันธุ์ทั่วโลกกำลังนำขยะพลาสติกมาใช้เป็น ‘บ้าน’ หรือเกราะห่อหุ้มร่างกาย การศึกษานิเวศวิทยาทางอินเทอร์เน็ต (iEcology) นักวิจัยพบว่า 85% ของ ภาพปูเสฉวน 386 ภาพที่เผยแพร่สาธารณะผ่านโซเชียลมีเดีย ใช้ขยะพลาสติกเป็นเกราะหุ้มร่างกาย โดยขยะที่พบส่วนมากเป็นฝาขวดพลาสติก
แม้ว่าการรีไซเคิลพลาสติกได้รับการขนานนามว่าเป็นวิธีแก้ปัญหาวิกฤตมลพิษจากพลาสติก แต่การศึกษาล่าสุดระบุว่าถึงเวลาที่ต้องทบทวนกันใหม่ หลังศึกษาพบสารเคมีอันตรายหลายร้อยชนิดในเม็ดพลาสติกรีไซเคิลจากประเทศต่างๆ มากกว่า 10 ประเทศ
นักวิทยาศาสตร์ประเมินว่ามีไมโครพลาสติกประมาณ 14 ล้านตันบนพื้นมหาสมุทร และอีก 24 ล้านชิ้นที่ลอยอยู่บนพื้นผิวมหาสมุทร ไมโครพลาสติกมาจากหลายแห่ง แต่คาดว่า 35% ของมลพิษไมโครพลาสติกในมหาสมุทรนั้นมาจากกระบวนการซักผ้า
สวีเดนเตรียมยกเลิกภาษี ‘ถุงพลาสติก’ หลังประชากรใช้น้อยลงเหลือคนละ 17 ใบ/ปี รัฐบาลมั่นใจประชาชนฉลาดใช้และตื่นรู้ในลกระทบต่อวิกฤตโลกร้อน