The Green Mile

‘มิยาวากิ’ ฟื้นโลกจากพันธุ์ไม้พื้นเมือง

ชาวญี่ปุ่นคิดค้นวิธีปลูกป่าขึ้นในเมืองเล็กๆ เมื่อปี 2513 หรือรู้จักกันในชื่อ ‘ป่ามิยาวากิ’ (Miyawaki’ forests) ซึ่งในตอนนี้กำลังได้รับความนิยมอย่างมาก เพราะวิธีการปลูกป่าลักษณะนี้ช่วยสร้างป่าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ สามารถเจริญเติบโตได้ในพื้นที่ขนาดเท่าสนามเทนนิสเท่านั้น แต่ต้นไม้กลับเติบโตเร็วกว่าป่าทั่วไป

Read more

เรื่องเล่าลิงเก็บมะพร้าวในภาคใต้
มุมมองการทรมานสัตว์?

ในบทความเรื่อง “เสี้ยวหนึ่งของภาพชีวิตและความเคลื่อนไหวในชุมชนหาดทรายขาว” ในวารสารรูสมิแล ได้เล่าถึงวิถีชีวิตของชาวปัตตานีกับลิง (ลิงแสม) ที่ช่วยพวกเขาเก็บผลผลิตทางการเกษตรไม่ว่าจะเป็นมะพร้าวหรือสะตอ ผู้เขียนบรรยายไว้ว่าลิงคือ “สัตว์เลี้ยงที่เป็นเหมือนเพื่อนสนิทของชาวสวน” เป็นความจริงที่คนปักษ์ใต้เลี้ยงลิงเหมือนคนในครอบครัวหรือเพื่อนร่วมงาน แม้จะไม่ใช่ทุกครัวเรือนที่จะเมตตากับลิงแบบนี้และมีบางกรณีที่ทารุณกับมันเหมือนเป็นทาส แต่มีน้อยมากที่เราจะได้ยินเรื่องทารุณลิง และการทุบตีหรือล่ามพวกมัน เว้นแต่เกิดจากความดุของลิงเป็นเหตุ

Read more

ตำนานช้างแคระที่สงขลา
ตัวเท่าหมูญาติช้างบอร์เนียว

หลายชั่วคนก่อน บริเวณป่าพรุทางตอนเหนือของทะเลสาบสงขลามีช้างประเภทหนึ่งรูปร่างของมันเล็กแกรน ตัวขนาดเท่าหมูหรือเรียกว่า “ช้างค่อม” หรือช้างแคระ ซึ่งช้างแคระปัจจุบันพวกมันเป็นอดีตไปแล้ว ช้างค่อมเป็นสัตว์ที่สูญพันธุ์จากไทยไปตลอดกาล

Read more

OPINION: เลิกกินสัตว์ป่ายังไม่พอ
ต้องเลิกทำลายป่าด้วย

• เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2563ทางการเมืองอู่ฮั่นออกคำสั่งห้ามกินเนื้อสัตว์ป่าและมีบทลงโทษผู้ฝ่าฝืน ซึ่งถือเป็นนิมิตหมายที่ดี (ที่อาจจะช้าไปสักหน่อย) สำหรับเมืองที่เป็นจุดเริ่มต้นของการระบาดของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ • แต่คำสั่งของอู่ฮั่นมีระยะเวลาดำเนินการแค่ 5 ปีแล้วจะค่อยยทบทวนอีกครั้ง ซึ่งหมายความว่าหลังจากนั้น 5 ปีถ้าเรื่องซาลงแล้ว อู่ฮั่นก็อาจจะกลับมากินเนื้อสัตว์ป่ากันอีก

Read more

OPINION: เชียงคาน เมืองที่ถูกข่มขู่จากสองเขื่อน

จะขอเล่าว่าตอนก่อนจะสร้างเขื่อนไซยะบุรีคณะกรรมการแม่น้ำโขงเริ่มกระบวนการพิจารณาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 เป็นเขื่อนแรกที่ภูมิภาคแม่น้ำโขงร่วมกันตัดสินใจ แต่ในเดือนเมษายน 2554 สมาชิกตกลงกันไม่ได้และเสนอกันว่าควรจะยืดกระบวนการต่อไป

Read more

OPINION: ควรทำงานที่บ้านต่อ
เพื่อให้โลกได้หายใจต่อไป

เซอร์เดวิด แอทเทนโบโร (Sir David Attenborough) คือเจ้าของเสียงบรรยายอันโด่งดังในสารคดีชีวิตสัตว์โลกของ BBC เขายังเป็นมากกว่านักพากย์ เพราะยังเป็นนักสารคดี นักประวัติศาสตร์ธรรมชาติ และสัญลักษณ์ของการอนุรักษ์ธรรมชาติ เขาเป็นที่รักของชาวอังกฤษ (และชาวโลก) ถึงกับยกย่องให้ท่านเซอร์เป็นสมบัติของชาติ ดังนั้นเซอร์เดวิดพูดอะไรออกมาแต่ละครั้งที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมคนจะต้องตั้งใจฟัง

Read more

OPINION: แม่น้ำโขงไม่ใช่สมบัติส่วนตัวของจีน

เรารู้มานานแล้วว่าแม่น้ำโขงถูกจีนสร้างเขื่อนและเตรียมสร้างกั้นไว้ถึง 11 แห่งและหลังจากนั้นระดับแม่น้ำโขงไม่ขึ้นลงตามธรรมชาติอีก ในฤดูแล้งกลับมีน้ำเจิ่งนอง ในฤดูฝนกลับแห้งอดถจนแทบจะเห็นพื้น ความผิดปกตินี้ทำลายระบบนิเวศของธรรมชาติและทำลายวิถีชีวิตของคนริมสองฝั่งโขง

Read more

โคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่
คือ “นักฆ่า” ไม่ใช่ “ฮีโร่”

การระบาดของโควิด-19 ทำให้กิจกรรมของมนุษย์หยุดนิ่ง การปล่อยมลพิษลดลง ท้องฟ้าสะอาดขึ้น ถนนไม่มีควัน สิงสาราสัตว์ออกมาเพ่นพ่านในเมือง เหมือนกำลังทวงคืนบ้านของพวกมันคืนจากมนุษย์

Read more

OPINION: อย่าชมออสเตรเลียแก้ไฟป่า
เพราะมันสิ้นหวังยิ่งกว่าไทย

มีเสียงวิจารณ์กันให้แซดว่าไฟป่าที่เชียงใหม่เลวร้าย เพราะรัฐราชการรวมศูนย์ รวบอำนาจสั่งการจากส่วนกลางทำให้แก้ปัญหาล่าช้า มีเสียงเรียกร้องให้หน่วยงานส่วนท้องถิ่นมีอำนาจดูแลตัวเองมากขึ้นเพื่อจะได้จัดการไฟป่าได้รวดเร็วทันท่วงที

Read more

ลำดับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์
การต่อสู้โรคระบาดโควิด-19

HIGHLIGHTS วันที่ 30 มีนาคม 2563 สถิติล่าสุด อิตาลี มีจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคโควิด-19 มากเป็นอันดับ 1 ของโลก จำนวน 10,779 ราย ตามมาด้วย สเปน 6,803 ราย จีน 3,304 ราย อิหร่าน…

Read more