ไทยตั้งเป้านำขยะพลาสติกเข้าสู่ระบบรีไซเคิล ร้อยละ 100 ภายในปี 2570
ขยะพลาสติกทั่วโลกถูกนำเข้าสู่การรีไซเคิลเพียง 9% ของทั้งหมด ที่เหลืออีก 91% ถูกนำเข้าสู่กระบวนการฝังกลบ เผาทำลาย หรือเล็ดลอดออกสู่สิ่งแวดล้อม
ขยะพลาสติกทั่วโลกถูกนำเข้าสู่การรีไซเคิลเพียง 9% ของทั้งหมด ที่เหลืออีก 91% ถูกนำเข้าสู่กระบวนการฝังกลบ เผาทำลาย หรือเล็ดลอดออกสู่สิ่งแวดล้อม
พลาสติก 7 ชนิดที่นำไปรีไซเคิลได้จะต้องสะอาด ไม่ปนเปื้อนเศษอาหาร สารเคมีหรือวัตถุอันตรายและต้องไม่ตากแดดเป็นเวลานาน
ปัจจุบันมีขยะพลาสติกสะสมอยู่ในมหาสมุทรกว่า 75-199 ล้านตัน คาดว่าภายในปี 2583 ตัวเลขนี้อาจเพิ่มขึ้นเกือบสามเท่าเป็น 23-37 ล้านตันต่อปี
เวที COP29 จะพิจารณาเรื่องการจัดทำเป้าหมายทางการเงินใหม่ และกองทุน Loss and damage เพื่อสร้างความยุติธรรมด้านสภาพอากาศ
ในช่วงปี 2566 โลกมีโอกาสถึง 80% ที่อุณหภูมิจะเกิน 1.5 องศาเซลเซียสในช่วง 5 ปีข้างหน้า เป็นผลจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างต่อเนื่อง
COP29 จะเพิ่มความจุพลังงานสำรองทั่วโลกหกเท่า สร้างความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศพัฒนาพลังงานหมุนเวียน และกระตุ้นตลาดไฮโดรเจนสะอาด
การเติบโตอย่างรวดเร็วของพลังงานแสงอาทิตย์และลม ได้นำโลกมาถึงจุดเปลี่ยนสำคัญในปี 2566 นั่นคือการผลิตพลังงานจากฟอสซิลเริ่มลดลงในระดับโลก
ประเทศไทยมีความท้ายกับการเสนอยกระดับเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกให้สูงขึ้นที่ระดับ 40 – 60% เพื่อบรรลุเป้าหมาย Net Zero ให้สำเร็จ
หลักการ Reduce, Reuse, Recycle หรือ 3Rs เป็นหลักการลดขยะตั้งแต่ต้นทางไม่ให้ขยะเล็ดลอดออกสู่สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะไปจบที่ทะเล
ปริมาณขยะมูลฝอยทั่วโลกจะเพิ่มจาก 2,300 ล้านตันในปี 2023 เป็น 3,800 ล้านตันในปี 2050 หากไม่จัดการอย่างจริงจัง โดยเฉพาะการลดขยะให้เหลือศูนย์